ประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ค่าFFLและSFL

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ วันนี้ผมอยากจะขออนุญาตมาทำการหยิบยกและนำเอากรณีตัวอย่างจริงๆ มาอธิบายต่อว่า เพราะเหตุใดเราจึงต้องมีการใช้งานทั้งค่า FFL. และ SFL. นี้ในการทำงานก่อสร้างของเพื่อนๆ เพื่อให้เพื่อนๆ ทุกคน ได้ทราบรับและรับชมไปพร้อมๆ กันนะครับ จากรูปที่ … Read More

ความรู้เรื่องค่าEcและค่าEce

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ   หากว่าเพื่อนๆ ท่านใดเคยเปิดอ่านรายการคำนวณงานวิศวกรรมโครงสร้างที่มีความเกี่ยวข้องกันกับโครงสร้างเสาเข็มแล้วเพื่อนๆ พบว่าค่าของ “โมดูลัสยืดหยุ่น” หรือ ELASTIC MODULUS ที่ใช้ในโครงสร้างเสาเข็มนั้นๆ มีค่าแปลกๆ … Read More

ประเภทการรับกำลังของเสาเข็มสปันไมโครไพล์ของภูมิสยาม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เมื่อประมาณเดือนเมษายนที่ผ่านมาผมได้ทำการโพสต์บทความในหัวข้อ วิธีในการจำแนกเสาเข็มของเราว่าเป็น เสาเข็ม“รับแรงฝืด” เป็นหลัก หรือ เสาเข็ม “รับแรงแบกทาน” เป็นหลัก และก็ได้มีคำถามๆ ที่ถามเข้ามาจากแฟนเพจท่านหนึ่งซึ่งจะมีความต่อเนื่องจากคำถามข้อดังกล่าวนั้นว่า … Read More

รถเครนและถังบรรจุคอนกรีตที่ทำหน้าที่ในการลำเลียงคอนกรีตไปส่งในบริเวณที่มีความลึกหรือความสูงมาก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ   วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการตอบคำถามให้แก่น้องแฟนเพจท่านหนึ่งที่ได้สอบถามผมเข้ามาทางอินบ็อกซ์ส่วนตัวของผมว่า “หนูเห็นว่า เวลาที่มีการเทคอนกรีตในไซต์งานที่อยู่ในซอยข้างๆ บ้าน จะมีรถผสมปูนสำเร็จรูปที่จะคอยเข้ามาส่งปูนให้และก็จะเห็นว่ามีรถคันใหญ่ๆ อยู่อีกคันหนึ่ง เหมือนจะเป็นรถเครน ที่จะคอยยกถังที่ใส่ปูนขึ้นไปส่งด้านในตัวตึกอีกทีนึง หนูรบกวนพี่ช่วยอธิบายเพิ่มเติมหน่อยได้มั้ยว่า เหตุใดจึงต้องมีการอาศัยรถหลายคันเวลาที่ต้องทำการเทปูนด้วยคะ ?” … Read More

ความสำคัญของขั้นตอนการทดสอบคุณสมบัติของดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการตอบคำถามให้แก่เพื่อนแฟนเพจท่านหนึ่งที่ได้ให้ความกรุณาสอบถามผมเข้ามาทางอินบ็อกซ์ส่วนตัวว่า   “จากที่อ่านบทความของผมมาโดยตลอดผมจะสังเกตได้ว่าคุณดีนพูดอยู่บ่อยๆ ว่าควรที่จะทำการเจาะสำรวจดินในทุกๆ โครงการก่อสร้าง เพื่อที่เราจะได้ทราบค่าคุณสมบัติต่างๆ ของชั้นดิน คำถามก็คือ หากเราเป็นผู้ออกแบบหรือผู้รับเหมาที่จะต้องทำงานให้แก่เจ้าของบ้านที่ว่าจ้างเราแต่ทางเจ้าของบ้านไม่มีความเข้าใจว่าขั้นตอนในการทดสอบดินนั้นมีความสำคัญอย่างไร เราควรที่จะทำอย่างไรดีครับ?” … Read More

การรับกำลังของเสาเข็มเดี่ยวและกลุ่ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ตามที่ผมได้ทำการแจ้งกับเพื่อนๆ ไปว่าในสัปดาห์นี้ผมจะขออนุญาตมาทำการสรุปเนื้อหาที่ผมได้ทำการโพสต์ อธิบายพร้อมกับยกตัวอย่างไปในตลอดหลายๆ สัปดาห์ที่ผ่านมาให้เพื่อนๆ รับทราบกันอีกสักรอบหนึ่ง ก่อนที่ในสัปดาห์ถัดๆ ไปนั้นเราจะได้ขึ้นหัวข้ออื่นๆ กันต่อไปนะครับ   จริงๆ แล้วหากเราจะมาทำการสรุปเนื้อหาในการออกแบบโครงสร้างฐานรากที่เป็นแบบ DEEP … Read More

การทรุดตัวของเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ตามที่ผมได้ทำการแจ้งกับเพื่อนๆ ไปว่าในสัปดาห์นี้ผมจะขออนุญาตหยิบยกและนำเอาตัวอย่างของการคำนวณหาค่าการทรุดตัวของเสาเข็มเนื่องจาก CONSOLIDATION SETTLEMENT ในกรณีที่โครงสร้างเสาเข็มของเรานั้นเป็นเสาเข็มกลุ่มให้เพื่อนๆ ได้รับชมกัน ดังนั้นเพื่อเป็นการไม่เสียเวลา เรามาดูรายละเอียดต่างๆ ของปัญหาที่จะใช้เป็นตัวอย่างในวันนี้กันเลยดีกว่านะครับ   ผมมีฐานรากที่จะต้องทำหน้าที่ในการรับน้ำหนักกระทำในแนวดิ่งใช้งานเท่ากับ 200 … Read More

การคำนวณหาค่า Element Stiffness Matrix เมื่ออ้างอิงไปยัง Global Coordinate

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ   โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ สำหรับนักเรียนและนักศึกษาที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากในรูปจะเป็นโครงสร้างโครงข้อแข็งที่มีลักษณะเป็น STATICALLY INDTERMINATE ซึ่งจะประกอบไปด้วยชิ้นส่วนทั้งหมด 3 ชิ้นส่วนและก็จะมีมิติต่างๆ ของโครงข้อแข็งดังในรูปที่แสดง … Read More

การใช้ระบบของฐานรากอาคารที่มีความแตกต่างกัน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เมื่อไม่กี่วันมานี้ผมได้รับคำถามเดิมๆ ที่เคยได้ทำการให้คำตอบแก่เพื่อนๆ ไปก็หลายครั้งแล้ว โดยที่ใจความของคำถามข้อนี้ก็คือ “เป็นไปได้หรือไม่ว่าในหนึ่งอาคาร วิศวกรจะใช้ระบบของ ฐานรากแบบตื้น หรือ SHALLOW FOUNDATION … Read More

การคำนวณหาค่ากำลังในการรับน้ำหนักบรรทุกใช้งานของฐานรากที่เป็นเสาเข็มกลุ่ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้างที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ   ผมมีความจำเป็นที่จะต้องใช้เสาเข็มระบบเจาะหรือ BORED PILE ในการก่อสร้างฐานรากของอาคารภายในโครงการก่อสร้างแห่งนี้ ซึ่งเสาเข็มเจาะที่จะใช้นั้นจะมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ 500 มม … Read More

1 5 6 7 8 9 10 11 33