ปัญหาของการก่อสร้างโครงสร้างฐานรากแบบยื่นที่ผิดวิธี

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ   ตามที่ผมได้เรียนเพื่อนๆ ไปในโพสต์ของวันนี้เมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่า ในโพสต์ของวันนี้ผมจะขออนุญาตหยิบยกนำเอาตัวอย่างของวิธีการก่อสร้างที่ควรจะทำสำหรับกรณีของการก่อสร้างโครงสร้างฐานรากแบบยื่นเหมือนกันกับกรณีตัวอย่างนี้เอามาฝากแก่เพื่อนๆ นะครับ ก่อนอื่นผมอยากจะให้เพื่อนๆ ดูกรณีของแปลนในรูปที่ 1 นี้ก่อน ซึ่งในรูปๆ … Read More

การก่อสร้างโครงสร้างโครงข้อหมุนให้มีความแข็งแรง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ   โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากรูปโครงสร้างโครงข้อหมุนทั้ง 3 รูปที่แสดงอยู่ในโพสต์ๆ นี้ หากทั้งชิ้นส่วนที่อยู่ในคอร์ดบนหรือ TOP … Read More

ประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ค่าFFLและSFL

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เมื่อหลายสัปดาห์ก่อนผมเคยได้ทำการหยิบยกและนำเอากรณีตัวอย่างจริงๆ ที่ใช้ทำการอธิบายว่า เพราะเหตุใดเราจึงต้องมีการกำหนดให้มีการใช้งานทั้งค่า FFL. และ SFL. นี้ในการทำงานก่อสร้าง ซึ่งรูปตัวอย่างในครั้งนั้นจะเป็นรูปที่แสดงให้เห็นถึงโครงสร้างเสาคอนกรีตเสริมเหล็กต้นหนึ่งในอาคารหลังนี้ ซึ่งทางสถาปนิกผู้ทำการออกแบบงานสถาปัตยกรรมได้ทำการออกแบบโดยที่ได้กำหนดเอาไว้ว่า ให้ทำการจบผิวโดยรอบของโครงสร้างเสาคอนกรีตเสริมเหล็กต้นนี้ด้วยการกรุด้วยหินแกรนิต ซึ่งเราจะสามารถเห็นได้จากรูปว่าระยะจากผิวของโครงสร้างเสาออกมาจนถึงผิวที่อยู่ที่ขอบด้านนอกสุดของหินแกรนิต จะมีระยะทั้งหมดเท่ากับ … Read More

วิธีในออกแบบและก่อสร้าง ชิ้นส่วนที่คอยทำหน้าที่ค้ำยันทางด้านข้าง แก่โครงสร้างโครงถักเหล็กตัวหลักที่ถูกต้อง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เนื่องจากเมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้นำเอารูปภาพจริงๆ ของการที่ชิ้นส่วนซึ่งคอยทำหน้าที่ในการค้ำยันทางด้านข้างหรือ LATERAL BRACING ให้แก่โครงสร้างโครงถักเหล็กตัวหลักหรือ MAIN-TRUSS นั้นเกิดการวิบัติมาฝากเพื่อนๆ ทุกๆ คนซึ่งผมก็ได้ทำการอธิบายไปในเบื้องต้นแล้วว่า สาเหตุที่เจ้าชิ้นส่วนซึ่งคอยทำหน้าที่ในการค้ำยันทางด้านข้างให้แก่โครงสร้างโครงถักเหล็กตัวหลักนี้เกิดการวิบัติเป็นเพราะตอนที่ช่างที่ทำหน้าที่ในการติดตั้งโครงสร้างโครงหลังคาเหล็กนั้นทำการก่อสร้างโดยขาดความรู้และประสบการณ์ในการก่อสร้างโครงสร้างเหล็กที่มีความถูกต้องตามหลักการทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างนั่นเองเพราะตามปกติแล้ววิศวกรผู้มีความรู้และประสบการณ์ในการออกแบบ มักจะทำการออกแบบโดยกำหนดให้ชิ้นส่วนซึ่งจะคอยทำหน้าที่ในการค้ำยันทางด้านข้างให้แก่โครงสร้างโครงถักเหล็กตัวหลักนั้นเป็นโครงสร้างโครงถักเหล็กตัวรองหรือ SUB-TRUSS … Read More

ปัญหาการบ้านของเด็กในประเทศจีน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ   โดยที่เมื่อช่วงสองถึงสามสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นผมบังเอิญมีโอกาสได้ไปเจอกรณีที่เพื่อนของผมบนเฟซบุ้คท่านหนึ่งได้ทำการโพสต์ถามปัญหาเชาวน์ปัญหาหนึ่งขึ้นในหน้าวอลล์ส่วนตัวของเค้า พอผมมานึกถึงคำถามข้อนี้แล้วก็เลยมี่ความคิดว่า น่าจะเป็นการดีเหมือนกันนะหากนำเอามาถามข้อนี้มาถามเป็นคำถามประจำสัปดาห์ให้แก่เพื่อนๆ ทุกคนได้ร่วมสนุกกัน โดยที่คำถามในวันนี้ก็คือ “ในรูปแสดงการบ้านของเด็กที่กำลังเรียนอยู่ในชั้นประถมศึกษาในประเทศจีน ที่มีเอาไว้ให้เด็กๆ ได้ทำในช่วงของการกักตัวหนีไวรัสโควิด 19 จากข้อมูลทั้งหมดดังที่แสดงอยู่ในรูปๆ นี้อยากถามว่า โต๊ะตัวนี้สูงเท่าไหร่ … Read More

สภาวะของโครงสร้างเสาเข็ม เกิดแรงดึงฉุดลง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ตามที่ผมได้รับปากเพื่อนๆ เอาไว้ในสัปดาห์ที่ผ่านมาว่าวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดถึงตัวอย่างในการคำนวณเกี่ยวกับประเด็นเรื่องวิธีในการคำนวณหาค่าของ แรงดึงฉุดลง หรือ NEGATIVE SKIN FRICTION ให้เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้รับทราบไปพร้อมๆ … Read More

สภาวะของการที่โครงสร้างเสาเข็มของเรานั้นเกิดแรงดึงฉุดลง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ตามที่ผมได้รับปากเพื่อนๆ เอาไว้ในสัปดาห์ที่ผ่านมาว่าวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดถึง วิธีในการคำนวณหาค่าของ แรงดึงฉุดลง หรือ NEGATIVE SKIN FRICTION ให้เพื่อนๆ ทุกๆ … Read More

ปัญหาเชาวน์ถามเอาฮา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ หลังจากที่ดูเหมือนว่าเนื้อหาตลอดหลายสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นจะดูเครียดๆ ไปสักเล็กน้อย ดังนั้นในวันนี้ผมจึงได้เลือกนำเอาคำถามที่ตัวของผมเองก็ได้ถูกเพื่อนๆ ของผมในเฟซบุ้คนำมาถามผมเช่นเดียวกัน พอตอบไปปุ๊บเจอคำตอบก็พบว่าขำขันและฮาดี จึงคิดว่าเอามาถามเพื่อนๆ คลายเครียดสักหน่อยก็น่าจะเป็นการดีเหมือนกัน โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ   มีสมการตั้งต้นให้มาทั้งหมด 3 สมการ ผมแค่อยากจะให้เพื่อนๆ … Read More

การเลือกระบบโครงสร้างที่มีผลตอบสนองตรงตามที่ต้องการ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้เรื่องวิศวกรรมการคำนวณ ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ หากผมทำการสมมติและกำหนดเงื่อนไขเอาไว้ว่า เพื่อนๆ เป็นผู้รับเหมาก่อสร้างในโครงการก่อสร้างแห่งนี้และเพื่อนๆ สามารถที่จะทำการก่อสร้างโครงสร้าง PORTAL FRAME ดังรูปได้ภายในระยะเวลาในการทำงานก่อสร้างที่ไม่ได้ถูกจำกัดอะไรมากมายนัก อีกทั้งการก่อสร้างตัวโครงสร้างคานในรูป … Read More

สภาวะของการที่โครงสร้างเสาเข็มของเรานั้นเกิดแรงดึงฉุดลง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ในวันนี้ผมอยากจะขออนุญาตมาทำการพูดถึงหัวข้อที่มีความสำคัญมากหัวข้อหนึ่งที่มีความเกี่ยวพันกันกับเรื่องของการรับกำลังของเสาเข็มของเรา ซึ่งเอาเข้าจริงๆ แล้วตัวของผมเองก็เคยได้ทำการพูดถึงหัวข้อๆ นี้ไปก็หลายครั้งแล้วในการโพสต์ของผมก่อนหน้านี้ เรื่องๆ นี้ก็คือ สภาวะของการที่โครงสร้างเสาเข็มของเรานั้น เกิดแรงดึงฉุดลง หรือ NEGATIVE … Read More

1 4 5 6 7 8 9 10 33