ตำแหน่งของระยะวิกฤติสำหรับการออกแบบแรงเฉือนในคาน

ตำแหน่งของระยะวิกฤติสำหรับการออกแบบแรงเฉือนในคาน   ขอยกตัวอย่างคานคอนกรีตเสริมเหล็กอันหนึ่งที่มีการวางตัวอย่างง่าย (SIMPLY SUPPORTED) ที่มีช่วงความยาวเท่ากับ 8 ม คานๆ นี้มีขนาดความลึกเท่ากับ 0.70 ม ทำให้มีระยะความลึกประสิทธิผล (d) โดยประมาณเท่ากับ 0.65 ม โดยที่คานๆ นี้รับ นน … Read More

เมื่อเสาเข็มเกิดการเยื้องศูนย์ไปแล้ว ตัวโครงสร้างของเสาเข็มของเราจะเกิดการวิบัติเลยหรือไม่ ?

เมื่อเสาเข็มเกิดการเยื้องศูนย์ไปแล้ว ตัวโครงสร้างของเสาเข็มของเราจะเกิดการวิบัติเลยหรือไม่ ? สาเหตุที่ผมนำปัญหาข้อนี้มาตอบเพราะผมค่อนข้างที่จะเข้าใจผู้ถามดีนะครับว่ามีความวิตกกังวลประการใดอยู่ในใจ และ ผมถือว่าคำถามๆ นี้เป็นคำถามที่น่าสนใจด้วยครับ จึงเลือกนำมาตอบในวันนี้นะครับ โดยที่ผมอยากที่จะขออนุญาตทำการตอบเพื่อนวิศวกรท่านนี้ดังนี้นะครับ เมื่อใดที่เราทำการตรวจสอบแล้วพบว่าพจน์ที่เป็นตัวหารในสมการหาค่าแรงปฏิกิริยาในเสาเข็มกรณีที่เสาเข็มไม่มีคุณสมบัติทางด้านความสมมาตรออกมามีค่าเท่ากับ ศูนย์ หรือ Ix Iy – Ixy^(2) = 0 ซึ่งการที่ผลการคำนวณในพจน์ๆ ออกมาเป็นเช่นนี้ก็จะเป็นการบ่งบอกกับเราว่า … Read More

ประเภท และ คุณสมบัติหลักๆ ของยางมะตอย

สวัสดีครับ วันนี้ Mr.เสาเข็ม จะมาต่อยอดถึงสาระและความรู้จากเมื่อวานกันนะครับ วันนี้จะเป็นเรื่องของประเภท และ คุณสมบัติหลักๆ ของยางมะตอย ยางมะตอยจะเป็นกากที่เหลือจากการกลั่นน้ำมันดิบ ทำให้มีลักษณะเหนียวหนืด ไม่เหมือนกับน้ำมันเบนซิน หรือ ดีเซล ที่ได้จากการกลั่นเช่นกัน โดยเนื่องจากการที่กระบวนการในการผลิตยางมะตอยนั้นได้มาจากการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม โดยที่ยางมะตอยจะเป็นส่วนหนึ่งของน้ำมันดิบที่มี นน มากที่สุด และ จะถูกนำไปผ่านกระบวนการๆ … Read More

ยางมะตอย (ASPHALT)

สวัสดีครับ วันนี้ ก็มาพบกับ Mr.เสาเข็ม อีกเช่นเคย สำหรับช่วงบ่ายๆ แบบนี้ Mr.เสาเข็ม ได้นำความรู้เกี่ยวกับการก่อสร้างมาฝากกันนะครับ สำหรับวันนี้เป็นเรื่องของ ยางมะตอย หรือ ASPHALT ครับ วัสดุที่มีชื่อว่า “ยางมะตอย” จะมีลักษณะเป็นยางเหนียวสีดำที่เราเอามาราดเพื่อที่จะทำถนนให้รถวิ่ง ซึ่งวัสดุนี้ได้มาจากการกลั่นน้ำมันดิบใน หอกลั่นลำดับส่วนในอุตสาหกรรมปิโตรเลียม โดยที่ยางมะตอยจะเป็นกากที่เหลือจากการกลั่นน้ำมันดิบ ทำให้มีลักษณะเหนียวหนืด … Read More

การวิเคราะห์แรงกระทำทางด้านข้างแก่โครงสร้างของอาคารอันเนื่องมาจากแรงลม

สวัสดีวันเสาร์ช่วงเย็นๆ แบบนี้นะครับ วันนี้ก็มาพบกับ Mr.เสาเข็ม กันอีกแล้ว วันนี้ก็มีความรู้ดีดีเกี่ยวกับการก่อสร้างมาฝากอีกเช่นเคย วันนี้จะเป็นเรื่อง การวิเคราะห์แรงกระทำทางด้านข้างแก่โครงสร้างของอาคารอันเนื่องมาจากแรงลม เราสามารถที่จะจำแนกวิธีในการคำนวณแรงลมที่กระทำต่ออาคารออกได้เป็น 3 วิธีใหญ่ๆ คือ (1) วิธีการอย่างง่าย (SIMPLIFIED PROCEDURE) (2) วิธีการอย่างละเอียด (DETAILED PROCEDURE) (3) … Read More

ค่า PARAMETER ที่เราจะได้จากคำนวณจากข้อมูลของดิน

BSP ภูมิสยาม ไมโครไพล์ สปันไมโครไพล์ micropile เสาเข็มต่อเติม ตอกเสาเข็ม สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ วันนี้ผมจะมาเล่าให้เพื่อนๆ ฟังถึงเรื่องสมการในการคำนวณหาค่า นน บรรทุกของเสาเข็ม ซึ่งสุดท้ายค่า PARAMETER ที่เราจะได้จากคำนวณจากข้อมูลของดินอย่างที่ผมได้เคยเล่าให้เพื่อนๆ ฟังก่อนหน้านี้ ก็จะถูกนำมาคำนวณในสมการเหล่านี้นั่นเองครับ เรามาดูกันก่อนนะครับว่าตัวย่อของค่าต่างๆ ที่จะถูกนำไปแทนค่าในสมการต่างๆ … Read More

การทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (DYNAMIC LOAD TEST)

สวัสดีครับมาเจอกับ Mr.Spunman กันอีกเช่นเคย วันนี้เราจะมาคุยกันถึง การทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ หรือ Dynamic Load Test กันนะครับ การทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (Dynamic Load Test) เป็นที่ยอมรับทั่วไปและมีมาตรฐานรองรับ ได้แก่ ASTM D4945-96 นอกจากนั้น การทดสอบดังกล่าวมีข้อดีหลายประการ เช่น สามารถทำการทดสอบได้ภายในระยะเวลาสั้น … Read More

ทำไมเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ถึงสั้นแค่ 1.5 เมตรครับ?

ทำไมเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ถึงสั้นแค่ 1.5 เมตรครับ? ด้วยเหตุผลที่ สั้นแล้ว สามารถบรรทุกบนรถกระบะเล็กได้ เข้าไปในซอกซอยที่แคบได้ และสามารถตอกในพื้นที่เพดานต่ำ ในระดับความสูง 3 เมตร ได้พอเหมาะพอดี ทำให้สามารถ ต่อเติมฐานรากภายในบ้าน อาคาร ซึ่งความสูงโดยทั่วไปจะอยู่ที่ 3.0 – 3.5 … Read More

คานคอดิน (GROUND BEAM) ควรอยู่สูงจากระดับพื้นดินเท่าไหร่

คานคอดิน (Ground Beam) คือส่วนประกอบโครงสร้างบนดินที่รับน้ำหนักพื้น ผนัง และสิ่งที่อยู่เหนือคานคอดินขึ้นไป แล้วจึงถ่ายน้ำหนักไปยังตอม่อและฐานรากต่อไป การก่อสร้างคานคอดิน แบ่งจากระดับความสูงจากพื้นดินได้ 2 แบบ คานคอดินวางอยู่บนระดับดิน เนื่องจากระดับพื้นชั้นล่างอยู่สูงจากระดับดินไม่มากนัก ในการก่อสร้างจึงมักทำเนินดินให้สูงเสมอท้องคานคอดิน และเทลีน (Lean) เพื่อใช้เป็นแบบหล่อท้องคานแทนการใช้ไม้แบบ และใช้ไม้แบบเฉพาะด้านข้างคานทั้งสองด้าน คานคอดินอยู่สูงจากระดับดินมากกว่า 1 … Read More

อิฐมวลเบา (LIGHTWEIGHT CONCRETE)

อิฐมวลเบา (Lightweight Concrete) คือคอนกรีตมวลเบาหรืออิฐมวลเบา เป็นวัสดุสำหรับก่อผนังสำหรับอาคารสูงหรือบ้านที่อยู่อาศัย เป็นวัสดุก่อที่นำเทคโนโลยีการผลิตมาจากต่างประเทศ มีทั้งแบบบล็อกตันและบล็อกกลวง (คล้ายคอนกรีตบล็อก) ขนาดใหญ่ แต่น้ำหนักเบามากกว่าเนื่องจากมีฟองอากาศขนาดเล็กกระจายอยู่อย่างสม่ำเสมอในเนื้อวัสดุ อิฐมวลเบามีขนาดมาตรฐาน กว้าง 20 x 20 เซนติเมตร และมีความหนาตั้งแต่ 7.5, 10, 12.5, … Read More

1 28 29 30 31 32 33