ประเภทของแผ่นพื้นสำเร็จรูปแบบคอนกรีตอัดแรง

ประเภทของแผ่นพื้นสำเร็จรูปแบบคอนกรีตอัดแรง แผ่นพื้นสำเร็จรูปแบบคอนกรีตอัดแรงสามารถแบ่งออกได้เป็นอีก 2 ชนิดหลักๆ คือ แผ่นพื้นสำเร็จรูปแบบ คอร ท้องเรียบตัน (PC PLANK SLAB) และ แผ่นพื้นสำเร็จรูปแบบ คอร ท้องเรียบกลวง (PC HOLLOW CORE SLAB) จริงๆ … Read More

ข้อมูลและตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับการเจาะสำรวจชั้นดินในพื้นที่ต่างจังหวัด

ข้อมูลและตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับการเจาะสำรวจชั้นดินในพื้นที่ต่างจังหวัด เริ่มต้นดูรูปที่แสดงตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับการเจาะสำรวจชั้นดินในพื้นที่ต่างจังหวัดกันก่อนนะครับ หากเพื่อนๆ สังเกตดูดีๆ จะพบว่าช่องที่แสดงค่า ความลึกของหลุมเจาะ ในตารางๆ นี้จะมีความแตกต่างออกไปจากตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับการเจาะสำรวจชั้นดินในเขตพื้นที่ กทม และ ปริมณฑล ที่เคยนำมาเล่าให้ฟังก่อนหน้านี้นะครับ โดยที่ในช่องๆ นี้ของตารางที่แสดงนี้จะไมได้แสดงค่าความลึกของหลุมเจาะตรงๆ แต่ กลับแสดงว่าระยะนี้จะมีค่าเท่ากับระยะความลึกที่เมื่อทำการทดสอบ SPT เพื่อที่จะหาค่า N VALUE … Read More

หากผลการทดสอบเสาเข็มด้วยกรรมวิธี DYANAMIC LOAD TEST แล้วค่าระยะการทรุดตัวที่ออกมามีค่ามากกว่าค่าที่ยอมให้ซึ่งเท่ากับ 25 mm จะมีวิธีการแก้ปัญหาในลักษณะแบบนี้ได้อย่างไร ?

หากผลการทดสอบเสาเข็มด้วยกรรมวิธี DYANAMIC LOAD TEST แล้วค่าระยะการทรุดตัวที่ออกมามีค่ามากกว่าค่าที่ยอมให้ซึ่งเท่ากับ 25 mm จะมีวิธีการแก้ปัญหาในลักษณะแบบนี้ได้อย่างไร ? ประการแรก ควรที่จะตรวจสอบดูก่อนนะครับว่า จำนวนเสาเข็มที่เราทำการทดสอบทั้งหมดนั้นมีกี่ต้น และ มีกี่ต้นที่ให้ผลออกมาในทำนองนี้ เพราะ จากประสบการณ์ของผมการทดสอบด้วยวิธี DYNAMIC LOAD TEST นั้นถือว่าเป็นวิธีการทดสอบที่ค่อนข้างที่จะมี … Read More

ผลจากการทดสอบด้วยวิธี PILE DYNAMIC LOAD TEST ซึ่งได้จากการทดสอบเสาเข็มจริงๆ ณ หน้างานนะครับ

ผลจากการทดสอบด้วยวิธี PILE DYNAMIC LOAD TEST ซึ่งได้จากการทดสอบเสาเข็มจริงๆ ณ หน้างานนะครับ จากแผนภูมินี้เป็นเพียงแผนภูมิหนึ่งที่เป็นผลที่ได้จากการทดสอบเสาเข็มโดยวิธี DYNAMIC LOAD TEST นะครับ ซึ่งก็คือ แผนภูมิแสดงค่าความสัมพันธ์ระหว่างค่า นน บรรทุกที่เสาเข็มจะสามารถรับได้ ทางแกน X และ … Read More

เหล็กโอบรัด (CONFINED STEEL)

เหล็กโอบรัด (CONFINED STEEL) เนื่องจากในฐานราก F1 นั้นพฤติกรรมต่างๆ ของฐานรากจะเกิดไม่ซับซ้อนเหมือนฐานรากประเภทอื่นๆ ผมจึงไม่ได้นำเสนอไว้ในโพสต์ก่อนหน้านี้ แต่ ลักษณะของ F1 นี้จะมีลักษณะเด่นในตัวเองแตกต่างออกไปจากประเภทของฐานรากชนิดอื่นๆ อยู่หลายประการ เช่น ผลของการเยื้องศูนย์ของเสาเข็มในฐานราก F1 จะส่งผลทางด้านกำลังและเสถียรภาพของตัวฐานรากและตอม่อที่มากกว่าฐานรากประเภทอื่นๆ (โดยในประเด็นนี้ผมได้นำเสนอไปแล้วในการโพสต์ที่ผ่านมา) และ เหล็กเสริมที่จะทำหน้าที่เด่นๆ … Read More

สภาพของเสาเข็มแบบนี้ถือว่าเป็นที่ยอมรับได้หรือไม่

สภาพของเสาเข็มแบบนี้ถือว่าเป็นที่ยอมรับได้หรือไม่ รูปที่ 1 เป็น ตัวอย่าง ของกรณีนี้กันนะครับ เพื่อนๆ จะสามารถสังเกตเห็นได้ว่ามีช่องว่างเล็กๆ ที่บริเวณรอยต่อระหว่างท่อนเสาเข็มในรูปได้ด้วยตาเปล่าเลยนะครับ ก่อนอื่นผมขอเริ่มต้นอธิบายกับเพื่อนๆ แบบนี้ก็แล้วกันนะครับ เพื่อนๆ น่าจะทราบกันดีอยู่แล้วนะครับว่าวัสดุหลักที่ถูกนำมาใช้ผลิตตัวโครงสร้างเสาเข็มนั้น คือ คอนกรีต ซึ่งคุณสมบัติประจำตัวอย่างหนึ่งของคอนกรีตที่เราจะพบเห็นได้ในทุกๆ ที่เลยก็คือ การหดตัว หรือ ที่เราเรียกกันว่า … Read More

โครงการคลองลัดโพธิ์

โครงการคลองลัดโพธิ์ คลองลัดโพธิ์ เป็นชื่อคลองเดิม บริเวณตำบลทรงคนอง อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เดิมมีลักษณะตื้นเขิน ต่อมาได้จัดสร้างเป็นโครงการตามแนวพระราชดำริ เป็นการบริหารจัดการน้ำเพื่อแก้ปัญหาน้ำท่วมกรุงเทพมหานคร โดยยึดหลักการ “เบี่ยงน้ำ” ภายใต้การดูแลของหน่วยงานหลัก 3 หน่วยงานคือ กรมชลประทาน กรุงเทพมหานคร และ คณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ มีหลักการคือ จากสภาพของแม่น้ำเจ้าพระยาเดิมที่มีลักษณะไหลวนคดเคี้ยวบริเวณรอบพื้นที่บริเวณบางกระเจ้านั้นมีความยาวถึง … Read More

เทคนิคในการวิเคราะห์และแก้ไขงานวิศวกรรมฐานรากเดิม

เทคนิคในการวิเคราะห์และแก้ไขงานวิศวกรรมฐานรากเดิม สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาแชร์ความรู้เกี่ยวกับเทคนิคในการ วิเคราะห์ และ แก้ไข งานวิศวกรรมฐานรากจากงานในอดีตของผมเองให้แก่เพื่อนได้รับทราบกันนะครับ เผื่อว่าจะมีประโยชน์ต่อเพื่อนๆ นะครับ ก่อนอื่นเรามาดูรูปประกอบกันก่อนนะครับ ในรูปปัญหาที่ผมไปพบเจอ คือ ฐานรากใช้ระบบ เสาเข็มเหล็ก ร่วมกันกับ เสาเข็มคอนกรีต แถมฐานรากยังเป็นฐานรากลอยอีกด้วย โดยที่เราไม่สามารถทำการตัดหัวเข็มลงไปได้เนื่องจากข้อจำกัดทางด้านงานสถาปัตยกรรมและการทำงานที่หน้างานนะครับ ปล … Read More

ระหว่าง FORCE METHOD กับ DISPLACEMENT METHOD แล้ววิธีการใดจะน่าสนใจและหากเรียนรู้แล้วจะได้ประโยชน์มากกว่ากัน

ระหว่าง FORCE METHOD กับ DISPLACEMENT METHOD แล้ววิธีการใดจะน่าสนใจและหากเรียนรู้แล้วจะได้ประโยชน์มากกว่ากัน เราสามารถที่จะทำการเปรียบเทียบวิธีการวิเคราะห์โครงสร้างระหว่าง FORCE METHOD และ DISPLACEMENT METHOD ได้จาก (1) ตัวแปรตั้งต้นที่เราไม่ทราบค่า (2) สมการที่ใช้ในการหาค่าตัวแปรตั้งต้นนั้นๆ หากเราพูดถึง FORCE … Read More

ระบบโครงแกงแนง หรือ BRACED FRAME SYSTEM

ระบบโครงแกงแนง หรือ BRACED FRAME SYSTEM โดยระบบๆ นี้ก็คือ การนำเจ้าโครงแกงแนง หรือ โครงค้ำยัน หรือ ที่เรานิยมเรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า BRACING นั้นมาช่วยในการค้ำยันตัวโครงสร้างเพื่อให้โครงสร้างของเรานั้นมี ความแข็งแรง และ มีเสถียรภาพ ที่สูงยิ่งขึ้น ดังนั้นเราสามารถนำระบบ BRACING … Read More

1 27 28 29 30 31 32 33