การออกแบบงานวิศวกรรมพลศาสตร์โครงสร้าง

การออกแบบงานวิศวกรรมพลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL DYNAMICS DESIGN ENGINEERING หรือ SDE) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมพลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL DYNAMICS DESIGN ENGINEERING หรือ SDE) นะครับ วันนี้ผมมีรูป ตัวอย่าง ที่เกิดขึ้นจริงสำหรับกรณีที่โครงสร้างอาคารนั้นเกิดการวิบัติอันเนื่องมาจากไม่สามารถต้านทานต่อ นน … Read More

การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC)

การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ เนื่องจากเมื่อวานนี้ผมได้โพสต์เกี่ยวกับเรื่องการนำทฤษฎีเรื่อง INFLUENCE LINE มาประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์โครงสร้างสะพาน ปรากฏว่ามีเพื่อนๆ หลายๆ … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างสะพาน (STRUCTURAL BRIDGE ENGINEERING DESIGN หรือ SBE)

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างสะพาน (STRUCTURAL BRIDGE ENGINEERING DESIGN หรือ SBE) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างสะพาน (STRUCTURAL BRIDGE ENGINEERING DESIGN หรือ SBE) นะครับ โดยที่หัวข้อวันนี้จะค่อนข้างกระชับและสั้นๆ แต่ ก็ถือได้ว่าเป็นหลักการสำคัญมาก อย่างหนึ่งที่วิศวกรโครงสร้างสะพานนำมาใช้ในการออกแบบโครงสร้างสะพาน … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE)

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดต่อถึงหัวข้อที่ (2) … Read More

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ เนื่องจากมีคำถามมาจากเพื่อนวิศวกรสนามของผมท่านหนึ่งว่า “หากในสถานที่ก่อสร้างนั้นมีการตอกเสาเข็มและเมื่อตอกเสาเข็มแล้วเสร็จจึงทำการทดสอบการรับ นน ของเสาเข็มด้วยวิธี STATIC LOAD TEST จึงอยากจะสอบถามผมว่า นน … Read More

ตารางแสดงค่าความลึกของหลุมเจาะที่ควรใช้ในการทดสอบดินที่มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับขนาดและความสูงของอาคาร

ตารางแสดงค่าความลึกของหลุมเจาะที่ควรใช้ในการทดสอบดินที่มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับขนาดและความสูงของอาคาร หากขึ้นชื่อว่าเป็นวิศวกรที่ดี เรามักที่จะต้องเป็นนักปฎิบัติงานที่ต้องทำงานภายใต้มาตรฐานการทำงานที่ดีและมีความเชื่อถือได้ ทั้งนี้เพราะเมื่อต้องนำหลักการหนึ่งหลักการใดจากมาตรฐานเหล่านี้ไปปฎิบัติใช้ในการทำงานจริงๆ ได้เราก็ต้องสามารถที่จะอ้างอิงไปยังมาตรฐานนั้นๆ ได้ด้วยนะครับ ซึ่งผมถือว่าส่วนหนึ่งของคำถามข้อนี้นั้นเป็นความบกพร่องของผมเองนะครับที่ไม่ได้ทำการกล่าวอ้างอิงถึงแหล่งที่มาของข้อมูลๆ นี้นะครับ ยังไงผมจะขออนุญาตเก็บประเด็นนี้เอาไว้เพื่อที่จะดำเนินการแก้ไขในการโพสต์ครั้งต่อๆ ไปนะครับ เอาเป็นว่าผมขออนุญาตตอบคำถามข้อนี้เลยก็แล้วกันนะครับ ข้อมูลที่ผมได้ให้คำแนะนำไปกับเพื่อนๆ ไปนั้นมีการอ้างอิงมาจากเอกสารหนังสือ แนวทางการตรวจสอบชั้นดินเพื่องานฐานราก ในหน้าที่ 13 ถึง 14 ซึ่งได้จัดทำโดยวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย โดยเป็นเอกสารที่ถูกพิมพ์ไปเมื่อปี … Read More

ค่าสัดส่วนความปลอดภัย หรือ SAFETY FACTOR

ค่าสัดส่วนความปลอดภัย หรือ SAFETY FACTOR เวลาที่เราทำการออกแบบค่า นน บรรทุกปลอดภัยของเสาเข็มนั้น ค่า SAFETY FACTOR ที่เรานิยมใช้โดยทั่วๆ ไปนั้นเท่ากับ 2.5 หรือ น้อยที่สุดเท่ากับ 2 นั้น ทางผู้ออกแบบเค้ามีเกณฑ์อย่างไรที่ใช้ในการประเมินและพิจารณาให้ค่าๆ นี้ออกมาเป็นดังนี้ครับ ? … Read More

รอยร้าว ที่ไม่อันตราย

รอยร้าว ที่ไม่อันตราย รอยร้าว ทางแนวดิ่ง รอยร้าว ทางแนวนอน รอยร้าว แตกลายงาตามผนัง ก่ออิฐฉาบปูน ของบ้าน และอาคารทั่วไป หากพบที่ผนัง ก็ไม่ต้องกังวล ว่าจะเกิดการทรุดตัวของอาคาร รอยร้าว เหล่านี้ เกิดจาก ผนังอาคาร มีเสาเอ็นน้อยเกินไป มีแรงกดทับ … Read More

ขนาดความลึกที่เหมาะสมของโครงถักเหล็ก หรือ STEEL TRUSS

ขนาดความลึกที่เหมาะสมของโครงถักเหล็ก หรือ STEEL TRUSS ประเภทของโครงถักแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบหลักๆ คือ (1) โครงถักแบบท้องเรียบ (ความลึกเท่ากันตลอดทั้งความยาว) (2) โครงถักแบบจั่ว (ชนิดมีความลึกที่ปลายด้วย) (3) โครงถักแบบจั่ว (ชนิดไม่มีความลึกที่ปลายเลย) หากเราให้ L เป็นความยาวช่วงทั้งหมดระหว่างเสาถึงเสาที่รองรับตัวโครงถัก … Read More

1 26 27 28 29 30 31 32 33