ขนาดของมุม A นั้นจะมีค่าเท่ากับกี่องศา ? | คำตอบ

ขนาดของมุม A นั้นจะมีค่าเท่ากับกี่องศา ? สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งในช่วงบ่ายของวันอาทิตย์แบบนี้นะครับ เหมือนเช่นเคยในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเฉลยคำถามประจำสัปดาห์ที่ผมได้ให้ไว้กับเพื่อนๆ เมื่อวานนี้ โดยที่คำถามประจำสัปดาห์ในวันนี้นั้นค่อนข้างที่จะง่ายมากๆ เลย ทั้งนี้รายละเอียดของคำถามประจำสัปดาห์นี้มีดังต่อไปนี้ครับ จากรูปในโพสต์ๆ นี้เพื่อนๆ จะเห็นถึงความสัมพันธ์ของมุมข้างในสี่เหลี่ยมและสามเหลี่ยมหลายๆ มุมเลย ดังนั้นจากข้อมูลที่ได้ให้ไว้ในปัญหาข้อนี้จงทำการหาว่า ขนาดของมุม A นั้นจะมีค่าเท่ากับกี่องศา ?  … Read More

ขนาดของมุม A นั้นจะมีค่าเท่ากับกี่องศา ?

ขนาดของมุม A นั้นจะมีค่าเท่ากับกี่องศา ? สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งในช่วงบ่ายของวันเสาร์แบบนี้และเหมือนเช่นเคย ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการตั้งคำถามประจำสัปดาห์เพื่อให้เพื่อนๆ ทุกคนได้ร่วมสนุกกัน โดยที่คำถามประจำสัปดาห์ในวันนี้นั้นค่อนข้างที่จะง่ายมากๆ เลย ทั้งนี้รายละเอียดของคำถามประจำสัปดาห์นี้มีดังต่อไปนี้ครับ จากรูปในโพสต์ๆ นี้เพื่อนๆ จะเห็นถึงความสัมพันธ์ของมุมข้างในสี่เหลี่ยมและสามเหลี่ยมหลายๆ มุมเลย ดังนั้นจากข้อมูลที่ได้ให้ไว้ในปัญหาข้อนี้จงทำการหาว่า ขนาดของมุม A นั้นจะมีค่าเท่ากับกี่องศา … Read More

วิธีวิเคราะห์ คานใดที่มีลักษณะของพฤติกรรมเป็นคานรับแรงดัด “แบบปกติ” หรือ “แบบลึก”

วิธีวิเคราะห์คาน ในรูปแบบต่าง ๆ สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านพบกันอีกครั้งในช่วงบ่ายของวันเสาร์แบบนี้นะครับ เหมือนเช่นเคยในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเฉลยคำถามประจำสัปดาห์ โดยที่คำถามประจำสัปดาห์ในวันนี้จะมีความเกี่ยวข้องกับหัวข้อในวันอังคารที่ผ่านมาซึ่งมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ โดยที่รายละเอียดของปัญหาที่ผมได้เลือกหยิบยกเอามาถามเพื่อนๆ ในวันนี้นั้นค่อนข้างที่จะมีความง่ายดายมากๆ เลย ซึ่งจะมีรายละเอียดของคำถามดังต่อไปนี้ครับ จะเห็นได้ว่าคานทั้ง 3 ในรูปๆ นี้จะมีขนาดของคานและเสาที่ทำหน้าที่รองรับคาน รวมไปถึงระยะความยาวช่วงระหว่างศูนย์กลางถึงศูนย์กลางของจุดรองรับที่เท่าๆ กัน โดยจะแตกต่างกันเฉพาะลักษณะของน้ำหนักบรรทุกที่กระทำอยู่บนคาน ดังนั้นผมอยากที่จะสอบถามเพื่อนๆ ว่า คานหมายเลขใดที่ถูกจัดว่ามีพฤติกรรมเป็นคานรับแรงดัด … Read More

เหล็กเสริมต้านทานการแตกร้าวอันเนื่องมาจากการหดตัวที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิในแผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็นแผ่นพื้นทางเดียวและแผ่นพื้นสองทาง

เหล็กเสริมต้านทานการแตกร้าวอันเนื่องมาจากการหดตัวที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิในแผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็นแผ่นพื้นทางเดียวและแผ่นพื้นสองทาง สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน  เนื่องจากเมื่อวานนี้ผมได้พูดถึงเรื่อง เหล็กเสริมต้านทานการแตกร้าวอันเนื่องมาจากการหดตัวที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ ซึ่งถือได้ว่าเป็นเหล็กเสริมประเภทหนึ่งที่เราจำเป็นต้องทำการพิจารณาให้ต้องทำการเสริมอยู่ในแผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นทางเดียว และ แผ่นพื้นสองทาง ให้แก่เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้รับทราบกันไปนั้น ปรากฎว่ามีเพื่อนของผมท่านหนึ่งซึ่งติดตามอ่านบทความของผมได้ทักผมมาหลังไมค์ว่า อยากให้ผมได้ทำการยกตัวอย่างการคำนวณในเรื่องๆ นี้สักหน่อยเพื่อนๆ จะได้เกิดความเข้าใจและนึกภาพออกกัน ครั้นจะรอนำเอาคำถามข้อนี้ไปเป็นคำถามประจำสัปดาห์ก็คิดว่าจะไม่เหมาะเพราปัญหาข้อนี้จะมีความง่ายดายมากจนเกินไป ผมเลยตัดสินใจว่าจะขออนุญาตเพื่อนๆ นำตัวอย่างการคำนวณมาแสดงให้ได้ดูกันในวันนี้เสียเลยก็แล้วกัน ทั้งนี้จะได้ไม่เป็นการขาดตอนจากเมื่อวานด้วย … Read More

ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป

ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดถึงเรื่อง ความหนาน้อยที่สุดสำหรับแผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นทางเดียว และ แผ่นพื้นสองทาง ให้แก่เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้รับทราบกันนะครับ โดยที่ผมต้องขออธิบายก่อนนะครับว่าสาเหตุที่ข้อกำหนดในการออกแบบได้กำหนดให้เราต้องทำการคำนวณหาค่าความหนาน้อยที่สุดของทั้งแผ่นพื้นทางเดียวและแผ่นพื้นสองทางนั่นเป็นเพราะว่า … Read More

ความรู้ทางด้านการเตรียมตัวสอบใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรม CONCENTRATED LOAD และ น้ำหนักกระทำแบบแผ่กระจายตัวสม่ำเสมอ หรือว่า UNIFORMLY DISTRIBUTED LOAD

ความรู้ทางด้านการเตรียมตัวสอบใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรม CONCENTRATED LOAD และ น้ำหนักกระทำแบบแผ่กระจายตัวสม่ำเสมอ หรือว่า UNIFORMLY DISTRIBUTED LOAD พบกันอีกครั้งในช่วงบ่ายของวันเสาร์แบบนี้นะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาเชิญชวนเพื่อนๆ ให้มาร่วมสนุกตอบคำถามร่วมกัน โดยที่คำถามที่ผมได้เลือกมานั้นจะเป็นหนึ่งในหัวข้อที่ผมได้ทำการโพสต์ไปในสัปดาห์ที่ผ่านมานั่นก็คือเรื่อง ความรู้ทางด้านการเตรียมตัวสอบใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรม โดยที่ใจความของคำถามในวันนี้นั้นง่ายมากๆ เลยนะครับ นั่นก็คือ จากรูปคานช่วงเดียวที่มีการรับ น้ำหนักกระทำแบบจุด หรือว่า … Read More

ความรู้ วิศวกรรมงานดินและวิธีในการอ่านข้อมูล การนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG

ความรู้ วิศวกรรมงานดินและวิธีในการอ่านข้อมูล จริงๆ แล้วเนื้อหาของการโพสต์ในวันนี้ยังคงวนเวียนอยู่ในเรื่องเดิมๆ จากเนื้อหาของเมื่อ 2 วัน ก่อนหน้านี้นั่นก็คือ เรื่อง การที่เสาเข็มต้องรับแรงดึง นั่นเองนะครับ โดยที่ได้มีคำถามเข้ามาจากเพื่อนๆ หลายๆ คนถามกันเข้ามาว่า เสาเข็มรับแรงดึงนั้นพอเข้าใจ แต่ ว่าตัวของ ดิน เองนั้นจะสามารถรับ แรงดึง … Read More

ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ Bhumisiam ไมโครไพล์

ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ  วันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอาภาพสเก็ตช์ของปัญหาๆ หนึ่งที่แฟนเพจท่านหนึ่งได้อินบ็อกซ์เข้ามาปรึกษากับผม ผมจึงคิดว่าน่าที่จะมีประโยชน์เลยนำประเด็นๆ นี้มาฝากเพื่อนๆ ทุกๆ คนให้ได้รับทราบร่วมกัน นั่นก็คือเรื่อง เสาเข็มเกิดการทรุดตัวที่ไม่เท่ากัน นั่นเองนะครับ เพื่อนๆ คงจะมีความคุ้ยเคยและคงเคยได้ยินประโยคในทำนองที่ว่า  “การเลือกใช้ฐานรากเป็น แบบเสาเข็ม จะเป็นการดีกว่าการเลือกใช้ฐานรากแบบ วางบนดิน” มาบ้างใช่หรือไม่ครับ ? ผมจะขอแก้ไขประโยคข้างต้นนี้สักเล็กน้อยนะครับ นั่นก็คือ  “การเลือกใช้ฐานรากเป็น … Read More

ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป

วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยในวันนี้ผมจะมาตอบคำถามของแฟนเพจท่านหนึ่งทีได้ทิ้งคำถามเอาไว้ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ เสาเข็ม โดยที่ประเด็นนี้จะมีความต่อเนื่องมาจากในสัปดาห์ที่แล้วซึ่งผมก็ถือได้ว่าคำถามๆ นี้มีความน่าสนใจดีนะครับ นั่นก็คือ เพราะเหตุใดเราจึงนิยมใช้ค่าสัดส่วนความปลอดภัยเท่ากับ 2.5 ในการคำนวณหาค่ากำลังการรับน้ำหนักของเสาเข็มเวลาที่เราทำการตรวจสอบการทำ BLOW COUNT นั่นเองครับ ก่อนที่จะตอบคำถามข้อนี้ ผมต้องขอย้อนเนื้อหากลับไปในเนื้อหาก่อนหน้านี้ที่เคยโพสต์ไปแล้วสักนิดก่อนนะครับว่า กลไกในการส่งถ่ายแรงตามแนวแกนหรือ … Read More

ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG

วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากวันนี้เป็นวันแรกที่ผมจะเริ่มต้นถึงหัวข้อนี้อย่างจริงๆ จังๆ ผมจึงจะขอเริ่มต้นจากเรื่องพื้นฐานๆ ก่อนเลยก็แล้วกันซึ่งในวันนี้ผมจะมาอธิบายให้เพื่อนๆ ได้รับทราบถึงวัตถุประสงค์ของการทำการเจาะสำรวจดิน หรือ BORING LOG นั่นเองนะครับ จริงๆ แล้ววัตถุประสงค์ในการทำการเจาะสำรวจดินนั้นมีอยู่ด้วยกันมากมายหลากหลายประการเลย แต่ ทั้งนี้เราก็สามารถที่จะทำการสรุปใจความสำคัญออกมาได้เป็นข้อๆ … Read More

1 24 25 26 27 28 29 30 33