ชิ้นส่วน BOUNDARY ELEMENT เพิ่ม STIFFNESS ให้แก่ตัวผนังรับแรงเฉือน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน   เพื่อนๆ เคยสังเกตและสงสัยกันมั้ยครับว่าเวลาที่เราอ่านแบบวิศวกรรมโครงสร้างของผนังรับแรงเฉือนในโครงสร้างอาคารที่มีความสูงตั้งแต่ 10 ชั้นขึ้นไป เหตุใดบางครั้งในผนังรับแรงเฉือนนั้นๆ ถึงมีลักษณะรูปร่างที่แปลกออกไป คือ จะเหมือนมี ELEMENT ที่ทำหน้าที่คล้ายๆ โครงสร้างเสาอยู่บริเวณขอบนอกสุดของผนังรับแรงเฉือนเพิ่มเติมขึ้นมา ซึ่งโดยมากในอาคารที่มีความสูงไม่มากมักจะไม่มี วันนี้ผมจะมาแชรืความรุ้เรื่องนี้ให้แก่เพื่อนๆ นะครับ      ดูรูปที่ 1 ประกอบนะครับ … Read More

การพิจารณาแรงสำหรับทำการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างอาคารสูง (HIGH-RISE หรือว่า TALL BUILDINGS)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน    วันนี้เนื้อหาที่ผมตั้งใจที่จะนำมาแชร์กับเพื่อนๆ คือ การพิจารณาแรงสำหรับทำการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างอาคารสูง (HIGH-RISE หรือว่า TALL BUILDINGS) นะครับ    ในการที่เราจะทำการออกแบบอาคารสูงได้นั้น พื้นฐานหนึ่งที่เราต้องถือว่ามีความสำคัญมากประการหนึ่งที่ผู้ออกแบบจำเป็นที่จะต้องมีความรู้และความเข้าใจ คือ การวิเคราะห์แรงกระทำทางด้านข้าง (LATERAL LOAD) ที่กระทำกับตัวโครงสร้างอาคารนะครับ โดยที่จริงๆ แล้วแรงกระทำทางด้านข้างที่กระทำกับอาคารทั้งหมดนั้นล้วนแล้วแต่เกิดจากแรงพลศาสตร์ … Read More

วิธีในการคำนวณหาค่า p นี้ในการแทนค่าหาค่า σ max ในโครงสร้างคานรับแรงดัด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน  ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการยก ตย ให้แก่เพื่อนๆ ได้ทราบกันถึงวิธีในการคำนวณหาค่า p นี้ในการแทนค่าหาค่า σ max ในโครงสร้างคานรับแรงดัดต่อเนื่องจากโพสต์ของผมเมื่อวันก่อนนะครับ      ผมขอพูดถึงสาเหตุที่ผมทำการหยิบยกเรื่องๆ นี้มาฝากแก่เพื่อนๆ อีกสักครั้งนะครับ เป็นเพราะว่าผมเห็นว่าในหลายๆ ครั้งเพื่อนๆ มักไม่ได้นำความรู้ รวมไปถึงค่าต่างๆ … Read More

การนำข้อมูลจากผลการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน      วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากวันนี้เป็นวันที่ 2 ซึ่งถือว่าเป็นช่วงต้นๆ ของการโพสต์ในหัวข้อนี้ ดังนั้นในวันนี้ผมจะมาเริ่มต้นอธิบายถึงขั้นตอนในการเจาะสำรวจดินให้แก่เพื่อนๆ ได้ทราบกันนะครับ  ในการทดสอบคุณสมบัติของชั้นดินนั้นวิศวกรผู้ออกแบบจำเป็นที่จะต้องทำการกำหนดรายละเอียดของการสำรวจดินอย่างชัดเจนว่ามีรายละเอียดเป็นเช่นไร เช่น จะทำการเจาะทั้งหมดกี่หลุม … Read More

การวิเคราะห์โครงสร้างด้วยวิธีและซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเมนต์

สวัสดีครับแฟน ๆ ที่รักทุกท่าน   หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยวิธีการและวิธีการทางซอฟต์แวร์ (วิเคราะห์เชิงโครงสร้างด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์วิธีวิเคราะห์และซอฟต์แวร์หรือ FEM)     วันนี้ฉันจะตอบคำถามของรุ่นพี่วิศวกรที่รักและชอบมากการใช้งานซอฟต์แวร์ทาง FINITE ELEMENT ที่มีอยู่ STAAD.PRO ว่าตามปกติแล้วเมื่อเรามีความต้องการที่จะ หล่อจากแผ่นพื้นแบบหล่อใน (แผ่นพื้นในสถานที่) แล้วยิงลงบนคาน (รองรับคาน) ในแต่ละด้านเราจะมีคำสั่งให้เราเลือกมากมายด้วยกันเช่นคำสั่งพื้นโหลดคำสั่ง ตั้งแต่ชั้นแรก … Read More

การทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่เหนือพื้นดินขึ้นและ ใต้พื้นดินลงไป

การทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่เหนือพื้นดินขึ้นและ ใต้พื้นดินลงไป   สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน       วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ       โดยในวันนี้ผมจะขออนุญาตพูดถึงเรื่องเล็กเรื่องหนึ่งที่จริงๆ แล้วต้องถือว่าไม่เล็กเลย … Read More

โครงสร้างภายในของเสาเข็มเพื่อการต่อเติม สปันไมโครไพล์ (SPUN MICRO PILE)

โครงสร้างภายในของเสาเข็มเพื่อการต่อเติม สปันไมโครไพล์ (SPUN MICRO PILE)         ลักษณะของเสาเข็มเพื่อการต่อเติม Spun Micro Pile มีลักษณะกลม กลวงจึงช่วยลดการสั่นสะเทือนเวลาตอก ถึงแม้ว่าจะตอกเสาเข็มใช้ความยาวมาก ก็สามารถลดแรงดันของดินในขณะตอกได้ โดยดินจะขึ้นทางรูกลวงของเสาเข็ม ซึ่งจะช่วยลดความกระทบกระเทือนที่มีต่อโครงสร้าง หรืออาคารข้างเคียงได้เป็นอย่างมากและยังช่วยเพิ่มความรวดเร็วในการทำงาน สามารถทำงานในที่แคบได้ เข้าซอยแคบเหมาะกับในเมือง ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน … Read More

คานแบบทางเดียวหรือ ONE WAY SLAB ON BEAM

แผ่นพื้นวางบนคานแบบทางเดียวหรือ ONE WAY SLAB ON BEAM สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ อย่างที่ผมได้แจ้งไปเมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่าหลังจากที่ผมได้แชร์ความรู้ในเรื่องหลักการหลักๆ ของเรื่อง แผ่นพื้นวางบนคานแบบทางเดียวหรือ ONE WAY SLAB … Read More

การวิบัติแบบมีความเหนียว หรือ DUCTILE FAILURE และ จุดหมุนพลาสติก หรือ PLASTIC HINGES

การวิบัติแบบมีความเหนียว หรือ DUCTILE FAILURE และ จุดหมุนพลาสติก หรือ PLASTIC HINGES สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากในช่วยปลายของสัปดาห์นี้ไปจนถึงช่วงปลายๆ ของสัปดาห์หน้า แอดมินมีกำหนดการที่จะต้องเดินทางไป ณ ประเทศไต้หวัน เพื่อไปนำเสนอผลงานการทำงานวิจัยในระดับ ป เอก ที่กำลังศึกษาอยู่ … Read More

ความสามารถในการรับแรงแบกทานของดินตามวิธีการของ TERZAGHI

ความสามารถในการรับแรงแบกทานของดินตามวิธีการของ TERZAGHI สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หากว่าเพื่อนๆ ยังจำกันได้เมื่อหลายสัปดาห์ก่อนผมเคยนำเอาเรื่องหลักในการคำนวณหาค่ากำลังความสามารถในการรับแรงแบกทานของดินตามวิธีการของ TERZAGHI มาอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกัน ซึ่งในหัวข้อนั้นเองผมยังได้ทำการพูดถึงประเด็นๆ หนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องและถือได้ว่ามีความสำคัญไม่น้อยในการออกแบบงานวิศวกรรมฐานรากของอาคารนั่นก็คือเรื่อง ระดับของน้ำใต้ดิน ใช่แล้วครับ … Read More

1 23 24 25 26 27 28 29 33