KERN POINT

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้แอดมินจะมาให้ความรู้เกี่ยวกับคำว่า “KERN POINT” แก่เพื่อนๆ นะครับ ในวงการวิศวกรรมโยธาเราอาจเคยได้ยินคำว่า KERN POINT จากหลายๆ แหล่ง เช่น งานวิศวกรรมฐานราก งานวิศวกรรมโครงสร้าง เป็นต้น วันนี้เราจะได้มาทำความคุ้นเคยกับคำๆ นี้กันให้มากยิ่งขึ้นนะครับ ผมขอสมมติหน้าตัดขึ้นมาหนึ่งหน้าตัดนะครับ หน้าตัดนี้มี … Read More

ปัจจัยที่ทำให้เกิดการแตกร้าวในคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้แอดมินจะขออนุญาตมาทำการอธิบายถึงหัวข้อสุดท้าย คือ ปัจจัยที่ทำให้เกิดการแตกร้าว ที่ค้างเพื่อนๆ เอาไว้ตั้งแต่เมื่อวันก่อนให้จบนะครับ ปัจจัยต่างๆ ที่ทำให้เกิดการแตกร้าวขึ้นในคอนกรีตสามารถอาจสามารถที่จะสรุปได้ดังนี้ 1) วัตถุดิบและสัดส่วนการผสมคอนกรีต อัน ได้แก่ วัสดุมวลรวม ปูนซีเมนต์ น้ำ น้ำยาผสมคอนกรีต – วัสดุมวลรวม ได้แก่ … Read More

การออกแบบหน้าตัดของโครงสร้างคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากเมื่อวานผมได้โพสต์บทความเรื่องโครงสร้างคอนกรีตล้วนให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกัน ก็มีเพื่อนของผมท่านหนึ่งได้กระซิบมาหลังไมค์สอบถามผมเกี่ยวกับเรื่องนี้พอดีครับว่า “ในการออกแบบหน้าตัดของโครงสร้างคอนกรีตล้วนนั้นมีวิธีการออกแบบพอสังเขปได้อย่างไร ?” ผมเลยขอคั่นการโพสต์บทความของผมด้วยการแสดง ตย ของการคำนวณโครงสร้างคอนกรีตล้วนให้เพื่อนๆ ได้รับทราบกันก่อนที่เราจะก้าวไปยังหัวข้อถัดไปนะครับ (รูป A) โดยที่ผมทำการสมมติให้ใช้ค่ากำลังอัดประลัยของคอนกรีต ตย ทรงกระบอกขนาดมาตรฐานที่อายุ 28 วัน เท่ากับ 210 … Read More

หลักการออกแบบโครงสร้างรับแรงแผ่นดินไหว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้แอดมินมีโอกาสได้พูดคุยกับเพื่อนชาวต่างชาติเกี่ยวกับเรื่องของแนวคิดในการออกแบบโครงสร้างเหล็กเพื่อใช้ต้านทานแรงกระทำจากแผ่นดินไหวในปัจจุบันและในอนาคตว่าจะเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไรบ้าง ? ผมเลยคิดว่าหากจะนำมาแชร์ให้เพื่อนๆ ได้รับทราบด้วย ก็น่าจะเป็นการดีครับ หลักการออกแบบโครงสร้างรับแรงแผ่นดินไหวในปัจจุบันใช้สมมติฐานว่าโครงสร้างมีพฤติกรรมอยู่ในช่วงเชิงเส้น กระบวนการออกแบบเริ่มต้นโดยการหาแรงเฉือนที่ฐานของอาคาร ซึ่งหาได้จากค่าสัมประสิทธิ์ผลตอบสนองแรงแผ่นดินไหว (Cs) และค่าความเร่งตอบสนองเชิงสเปคตรัมสำหรับการออกแบบที่คาบการสั่นพื้นฐานของอาคาร (Sa) โดยมีสมมติฐานที่ว่าโครงสร้างมีพฤติกรรมเป็นเชิงเส้น จากนั้นจึงลดทอนค่าแรงเฉือนด้วยค่าตัวประกอบปรับผลตอบสนอง (R) ที่แปรผันตามค่าความเหนียวของระบบโครงสร้างที่ได้สมมุติไว้ ค่าแรงเฉือนที่ฐานสำหรับการออกแบบนี้จะเพิ่มขึ้นหรือลดลงตามระดับความสำคัญในการใช้งานของโครงสร้างอาคาร โดยใช้ตัวประกอบความสำคัญของอาคาร (I) … Read More

การออกแบบโครงสร้างเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หลังจากหลายๆ วันที่ผ่านมาเราวนเวียนกันอยู่ในเรื่องความรู้เกี่ยวกับการออกแบบโครงสร้าง คสล กันไปหลายเรื่องแล้ว วันนี้แอดมินจะนำเกร็ดความรู้เกี่ยวกับเรื่องการออกแบบโครงสร้างเหล็กมาฝากเพื่อนๆ บ้างนะครับ เพื่อนๆ ที่เป็นวิศวกรหลายๆ ท่านคงจะทราบกันดีว่าในการออกแบบหน้าตัดเหล็กนั้น เราจะจำแนกหน้าตัดออกเป็น  (1) หน้าตัดรับแรงดึง  (2) หน้าตัดรับแรงอัด (3) หน้าตัดรับแรงดัด คำถามก็คือ หากหน้าตัดเกิดผสมผสานกันระหว่าง รับแรงดึงและแรงดัด กับ … Read More

ระบบไร้แรงยึดเหนี่ยว หรือ ระบบ UNBOND

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ  หากเพื่อนๆ ท่านใดติดตามข่าวกันในช่วงระยะเวลาประมาณ 2-3 วันมานี้เราคงจะได้ยินข่าวที่อาคารร้างเก่าที่ก่อสร้างด้วยระบบพื้นคอนกรีตอัดแรงเกิดการถล่มลงในระหว่างขั้นตอนการรื้อถอนจนเป็นเหตุให้เกิดคนงานเสียชีวิตกันไปบ้างนะครับ ในขณะนี้ทีมงานสำรวจของ วสท ได้เข้าสำรวจอาคารหลังนี้แล้วนะครับ และ คาดว่าใน 1-2 วัน ข้างหน้าน่าจะมีข้อสรุปถึงสาเหตุของการถล่มมาให้พวกเราได้รับทราบและเรียนรู้ร่วมกันนะครับ เมื่อถึงเวลานั้นแอดมินจะนำมาขยายความให้พวกเราได้รับทราบกันอีกครั้งนะครับ ในขณะนี้เป็นที่คาดหมายกันว่าระบบของพื้นคอนกรีตอัดแรงที่ใช้ในการก่อสร้างอาคารหลังดังกล่าวนี้เป็นระบบไร้แรงยึดเหนี่ยว หรือ ระบบ UNBOND ครับ … Read More

ผลการวิเคราะห์จาก BORING LOG

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ เนื่องจากเมื่อหลายวันก่อนแอดมินได้โพสต์ถึงการนำ BORING LOG จากกรณีที่หน้างาน CASE หนึ่งมาเป็น CASE STUDY ให้พวกเราได้ศึกษากัน และ จากโพสต์ๆ นั้นมีคำถามต่อว่า “ถ้าชั้น PILE TIP ที่เสาเข็มวางอยู่แล้วความหนาลึกลงไปอีก มากกว่าหรือเท่ากับ 5 … Read More

การตรวจสอบสภาวะการใช้งาน (SERVICEABILITY)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ช่วงนี้ผมจะมาโพสต์เอาใจนักออกแบบกันสักเล็กน้อยนะครับ หลายๆ ครั้งเวลาที่เราทำการออกแบบโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ สิ่งหนึ่งที่เราพบเจออยู่ได้บ่อยๆ ก็คือ เมื่อออกแบบหน้าตัดคานเหล็กทางสภาวะการรับกำลัง (STRENGTH) เสร็จแล้ว เราต้องทำการตรวจสอบสภาวะการใช้งาน (SERVICEABILITY) ด้วยทุกครั้งไปครับ เวลาที่เราทำการตรวจสอบเพื่อนๆ หลายๆ ท่านอาจจะงงว่าเหตุใดเมื่อใช้ นน บรรทุกคงที่ และ นน … Read More

การกำหนดขนาดและทิศทางของด้านกว้างและด้านแคบของ COLUMN

สวัสดีครับเพื่อนๆ ที่รักทุกๆ ท่าน   เพื่อนๆ ทราบหรือไม่ครับว่าการกำหนดขนาดและทิศทางของด้านกว้างและด้านแคบของ COLUMN นั้นจะมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการรับกำลังของ BEAM และ SUPPORT ในโครงต้านทานโมเมนต์ดัด (MOMENT FRAME) โดยที่การแปรเปลี่ยนของขนาดของเสานี้จส่งผลต่อแรงภายในที่แตกต่างกันมากก็ต่อเมื่อเราทำการกำหนดให้ BOUNDARY CONDITIONS ของ SUPPORT นั้นมีความแข็งแรงมากๆ (RIGID) … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านนะครับ  หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ     ผมต้องขออภัยเพื่อนๆ และพี่ๆ น้องๆ อีกหลายคนที่ยังมีเรื่องราวและคำถามที่ได้ฝากกันเข้ามา แต่ เนื่องด้วยภารกิจต่างๆ ของผมมันช่างมากมายเหลือเกิน … Read More

1 22 23 24 25 26 27 28 33