การเสริมกำลังในโครงสร้างของคาน คสล เดิม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน สืบเนื่องจากเมื่อวันก่อนที่ผมได้ไปฟังการบรรยายเกี่ยวกับเรื่อง การออกแบบโครงสร้างพิเศษ โดยท่าน อ ดร สมพร อรรถเศรณีวงศ์ และทีมงาน MICROFEAP ผมพบว่าเนื้อหาในการบรรยายของท่าน อ มีประโยชน์มากๆ ครับ บางเรื่องก็เป็นการตอกย้ำความรู้พื้นฐานที่ผมมีอยู่แล้วว่าสำคัญเพียงใด บางเรื่องก็เป็นการต่อยอดและพัฒนาทักษะและความรู้เดิมที่ผมนั้นมีให้ก้าวไกลไปได้อีกมากโข สำคัญที่สุด คือ ความคิดและคำสอนส่วนตัวของท่าน … Read More

การประมาณการขนาดหน้าตัดของคาน คสล สำหรับโครงสร้างที่มีความยาวช่วงที่สูง หรือ LONG SPAN

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ วันนี้ผมจะมาขอให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ วิศวกรเกี่ยวกับเรื่องการประมาณการขนาดหน้าตัดของคาน คสล สำหรับโครงสร้างที่มีความยาวช่วงที่สูง หรือ ที่เรานิยมเรียกกันว่า LONG SPAN นะครับ ก่อนอื่นผมต้องขอให้เล่าให้ทราบก่อนนะครับ ตามมาตรฐาน EIT หรือ ACI ได้กำหนดไว้ว่า ในการออกแบบหน้าตัดคาน คสล หากไม่ต้องการที่จะทำการตรวจสอบค่าการโก่งตัวของโครงสร้าง … Read More

ปัญหาทางด้านวิศวกรรมพลศาสตร์

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากในวันนี้มีเพื่อนวิศวกรของผมท่านหนึ่งได้หลังไมค์มาสอบถามผมเกี่ยวกับเรื่องปัญหาทางด้านวิศวกรรมพลศาสตร์ ผมเห็นว่าเนื้อหาน่าสนใจดี จึงคิดว่าน่าจะมีประโยชน์หากผมมานำมาเล่าสู่กันฟังกับเพื่อนๆ ด้วยนะครับ ก่อนอื่นผมขออธิบายเกี่ยวกับเรื่องวิศวกรรมพลศาสตร์กันสักเล็กน้อย จริงๆ เรื่องนี้วิศวกรอย่างเราๆ มักจะไม่มีความคุ้นเคยเท่าใดนัก อาจเป็นเพราะว่าสมมติฐานในการออกแบบโครงสร้างทั่วๆ ไปของเราจะอยู่บนหลักการของสถิตศาสตร์เสียเป็นส่วนใหญ่ ทำให้เมื่อต้องประสบปัญหาเชิงพลศาสตร์เพื่อนๆ ก็อาจจะมึนๆ งงๆ กันได้นะครับ แต่ ผมขอบอกเลยครับว่าเรื่องนี้ไม่ใช่เรื่องยาก ยิ่งหากเรารู้จักพื้นฐานของหลักการทางพลศาสตร์แล้วจะยิ่งพบว่าหลักในการนำไปใช้นั้นค่อนข้างตรงไปตรงมามากๆ ครับ … Read More

การออกแบบเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ (รูปที่ 1) วันนี้ผมจะขอมาเอาใจวิศวกรภูธรกันบ้างนะครับ แหะๆ ผมล้อเล่นนะครับ ที่ผมพูดแบบนี้เพราะในหลายวันที่ผ่านมาผมได้พูดถึงค่า PARAMETER ที่สำคัญของดินไปหลายค่ามากๆ ซึ่งเมื่อเราได้ทำการทดสอบและคำนวณค่าเหล่านี้มาได้ เรามักต้องนำข้อมูลเหล่านี้ไปทำการออกแบบเสาเข็ม ซึ่งฐานรากที่ต้องเป็นระบบเสาเข็ม (ดูรูปที่ 1 ขวามือ) เราจะเรียกว่า ระบบฐานรากลึก (DEEP FOUNDATION) … Read More

การคำนวณหาสถานะของความสมดุล (STAGE OF EQUILIBRIUM) ในโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขอมายก ตย ในการคำนวณหาสถานะของความสมดุล (STAGE OF EQUILIBRIUM) ในโครงสร้างตามที่ได้เคยรับปากกับเพื่อนๆ เอาไว้เมื่อวานนะครับ เริ่มต้นดูจากในรูปก่อนนะครับ ในรูปเป็นโครงสร้าง SHELL รูปครึ่งวงกลมวางซ้อนกันอยู่ 2 อัน โดยหากดูรูปในเส้นประสีเขียวจะพบว่า ณ จุดๆ นี้ … Read More

การ DERIVE ที่มาของค่า Pb

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เมื่อวานนี้ผมได้ทำการ DERIVE ที่มาของค่า Pb ให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกัน เพื่อนๆ อาจจะเห็นว่ามีค่า สปส ค่าๆ หนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการคำนวณ ค่าๆ นั้นก็คือ ค่า β1 นั่นเองครับ ค่า β1 … Read More

เหตุใดทฤษฎีพื้นฐานของการออกแบบหน้าตัดคาน คสล ด้วยวิธีหน่วยแรงใช้งานจึงมีความสำคัญ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ คน วันนี้ผมจะมาต่อถึงเนื้อหาที่ยังค้างทุกๆ คนนะครับ นั่นก็คือ เหตุใดทฤษฎีพื้นฐานของการออกแบบหน้าตัดคาน คสล ด้วยวิธีหน่วยแรงใช้งานจึงมีความสำคัญนะครับ ก่อนอื่นผมจะขอกล่าวถึงทฤษฎีกับอีก 1 สมการที่มีความสำคัญสมการหนึ่งก่อนครับ ขอให้ดูรูปที่ 1 ซึ่งจะแสดงให้เห็นถึงสภาวะความเค้นเมื่อเราทำการวิเคราะห์หน้าตัดคาน คสล ประกอบนะครับ เรื่องนั้นก็คือ เรื่องการกำหนดสภาวะการวิบัติของหน้าตัดคาน คือ หากเราเสริมเหล็กให้มีปริมาณน้อยกว่าค่าที่คำนวณได้จากใน … Read More

MODULAR RATIO หรือค่า n

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกท่าน วันนี้ผมมีคำหนึ่งคำจะมาอธิบายให้เพื่อนๆ ได้เข้าใจกันนะครับ ซึ่งผมเชื่อเหลือเกินว่าเพื่อนหลายๆ ท่านคงจะรู้จักและอาจทราบความหมายและความสำคัญของคำๆ นี้กันดีอยู่แล้วครับ คำๆ นี้คือ MODULAR RATIO หรือค่า n นั่นเองครับ เราจะพบค่าๆ นี้ในวิชาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิชาทางด้านงานกลศาสตร์และการออกแบบ เช่น กลศาสตร์ของวัสดุ การออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก การออกแบบโครงสร้างเหล็ก … Read More

โมเมนต์ดัดแบบสถิต หรือ STATIC MOMENT

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้เราจะมาดู ตย กันอีกสักข้อ ทั้งนี้เพื่อทำความเข้าใจกับคำว่า โมเมนต์ดัดแบบสถิต หรือ STATIC MOMENT กันอีกสักหน่อยนะครับ อย่างที่ผมเรียนไปตั้งแต่ครั้งที่แล้วนะครับว่าค่าๆ นี้ประโยชน์มากในการวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างมากนะครับ เช่น ใช้ตรวจสอบคำตอบที่ได้จากการวิเคราะห์โครงสร้าง ใช้ในการคำนวณโมเมนต์เพื่อที่จะทำการกระจายโมเมนต์ไปในแถบออกแบบสำหรับการออกแบบโครงสร้างแผ่นพื้นไร้คาน เป็นต้น กล่าวคือโมเมนต์สถิตก็คือผลรวมของค่าโมเมนต์ทั้งแบบบวกและแบบลบในโครงสร้างรับแรงดัดใดๆ จะมีค่าไม่เกินค่าโมเมนต์สถิตนี้ โดยหลักการของโมเมนต์ดัดแบบสถิตมีอยู่ง่ายๆ … Read More

ตารางแสดงค่า สปส แรงเสียดทาน หรือ FRICTION COEFFICIENT

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทกุๆ ท่าน วันนี้แอดมินมีตารางที่แสดงให้ถึงค่า สปส แรงเสียดทาน หรือ FRICTION COEFFICIENT มาฝากเพื่อนๆ นะครับ เพื่อนหลายๆ คนอาจมีคำถามว่าค่า สปส นี้มีประโยชน์อย่างไร ? เราสามารถที่จะคำนวณหาค่าต่างๆ ได้หลายค่าจาก สปส แรงเสียดทานนี้ครับ เรามาดู … Read More

1 21 22 23 24 25 26 27 33