นั่งร้าน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะนำความรู้เกี่ยวกับเรื่อง นั่งร้าน ที่มีการใช้งานกันอย่างแพร่หลายในงานก่อสร้างมาฝากให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกันนะครับ นั่งร้านสำหรับงานก่อสร้างที่พบเห็นกันได้ทั่วไปตามสถานที่ก่อสร้าง คือ เป็นอุปกรณ์ที่มีเอาไว้เพื่อรองรับน้ำหนักของวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ สิ่งของ ผู้ปฏิบัติงาน ณ สถานที่ก่อสร้าง โดยที่นั่งร้านนี้มักจะวางอยู่สูงเหนือระดับทั่วๆ ไปที่คนปกติไม่สามารถจะปฏิบัติงานได้โดยสะดวก ดังแสดงตัวอย่างอยู่ในรูปที่แนบมานะครับ หากเพื่อนจะต้องเป็นผู้ควบคุมงานและจะต้องไปทำการสำรวจตรวจสอบงานนั่งร้าน ณ สถานที่ก่อสร้างสิ่งที่เพื่อนๆ ควรใส่ใจเป็นพิเศษจะประกอบไปด้วยขั้นตอนหลักๆ … Read More

วิธีการถ่ายแรงอย่างง่าย

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขอมาขยายความต่อจากโพสต์เมื่อวานกันสักนิดอีกสักโพสต์นะครับ ทั้งนี้เพื่อที่เพื่อนๆ จะได้มีความเข้าใจในเรื่องนี้ให้มากยิ่งขึ้น และ จะได้สามารถนำหลักการนี้ไปประยุกต์ใช้งานได้ในสถานการณ์จริงๆ นะครับ (รูปที่ 1) เรามาดู ตย ที่ผมเตรียมมาให้เพื่อนๆ ได้ดูกันในวันนี้เลยนะครับ เริ่มจากผมมีคานฝากซึ่งรับ CONCENTRATED LOAD ขนาด 10,000 kgf … Read More

Pcr หรือ CRITICAL LOAD หรือว่า BUCKLING LOAD

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขอมาตอบคำถามน้องวิศวกรท่านเดิมต่อเนื่องจากโพสต์ที่แล้วของผมนะครับ เกี่ยวเนื่องกับเรื่องที่ผมได้กล่าวถึงเรื่อง Pcr หรือ CRITICAL LOAD หรือว่า BUCKLING LOAD ว่าเหตุใดผมถึงได้กล่าวว่าหากทำการจำลองโครงสร้างด้วย PINNED แทนที่จะเป็น SPRING ในแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของเรา เหตุใดจึงทำให้ค่า Pcr มีค่าสูงกว่าการจำลองในแบบที่สองนะครับ ก่อนอื่นไหนๆ … Read More

ปัจจัยที่จะต้องคำนึงในการออกแบบความหนาของแผ่นพื้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาตอบคำถามแก่น้องท่านหนึ่งที่มหาวิทยาลัยที่ได้ถามผมเกี่ยวกับเรื่อง เหตุใดในตำราต่างๆ จึงมักกำหนดว่าแผ่นพื้น FLAT PLATE คอร จึงต้องการความหนาโดยประมาณที่ L/40 ค่าๆ นี้มีที่มาที่ไปอย่างไร ? ผมขอตอบน้องท่านนี้ดังนี้นะครับ ปัจจัยที่เราจะต้องคำนึงในการออกแบบความหนาของแผ่นพื้นนั้นจะประกอบไปด้วยสิ่งสำคัญๆ อย่างน้อย 3 ประการดังต่อไปนี้ (1) ค่าความสามารถในการต้านทานการโก่งตัว … Read More

คาร์โล อัลเบอร์โต้ คาสติเกลียโน นักคณิตศาสตร์ แห่งศตวรรษที่ 18

สวัสดีครับเพื่อนๆ ที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้บุคคลคนที่สามที่ผมนำประวัติของท่านมาเล่าสู่กันฟังกับเพื่อนๆ นั้นเป็นนักคณิตศาสตร์ที่เก่งมากอีกท่านหนึ่งแห่งศตวรรษที่ 18 เลยก็ว่าได้ครับ ที่สำคัญท่านเป็นบุคคลที่เป็นไอด้อลส่วนตัวของผม เพราะผมชื่นชอบในผลงานของบุคคลท่านนี้มากๆ เพราะไม่ว่าจะเป็นทฤษฎีส่วนตัวของท่าน หรือ ทฤษฎีอื่นๆ ทีไ่ด้รับการต่อยอดสืบไปจากทฤษฎีของท่านก็ล้วนแล้วแต่มีความคลาสสิคในตัวของมันเองอย่างมากมายจริงๆ โดยที่บุคคลท่านนี้ก็คือ คาร์โล อัลเบอร์โต้ คาสติเกลียโน คาร์โล อัลเบอร์โต้ คาสติเกลียโน … Read More

การออกแบบแผ่นพื้น 2 ทาง คสล

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขอมาตอบปัญหาให้กับน้องวิศวกรมือใหม่ท่านหนึ่งที่ถามหลังไมค์กับผมเกี่ยวกับเรื่องการออกแบบแผ่นพื้น 2 ทาง คสล นะครับ และ ผมเห็นว่าน่าจะมีประโยชน์จึงนำมาแชร์เป็นความรู้แก่เพื่อนๆ ในวันนี้ด้วยครับ ตอนที่น้องเรียนพี่เข้าใจว่าน้องคงจะได้เรียนเฉพาะแผ่นพื้น ทางแบบที่มีคานรองรับ หรือ ที่มีชื่อเรียกว่า RC SLAB ON BEAM ใช่มั่ยครับ ? … Read More

การวิบัติของคาน คสล ด้วยรูปแบบของแรงเฉือน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขอมาอธิบายคร่าวๆ ให้เพื่อนๆ ได้พอมีพื้นฐานถึงเรื่องหลักการสำคัญของการพิจารณาเรื่องรูปแบบในการวิบัติที่สำคัญอย่างหนึ่งในการออกแบบโครงสร้างคาน คสล นั่นก็คือเรื่อง การวิบัติของคาน คสล ด้วยรูปแบบของแรงเฉือน นั่นเองครับ สาเหตุที่เราจำเป็นจะต้องมีความเข้าใจถึงหลักการของการวิบัติของคาน คสล ด้วยรูปแบบของแรงเฉือน นั้นเป็นเพราะว่าหากเรามองข้ามและไม่สนใจรูปแบบการวิบัติชนิดนี้เมื่อโครงสร้างต้องรับ นน บรรทุกส่วนเกินเพิ่มเติมจากที่ผู้ออกแบบได้ทำการออกแบบไว้ ก็อาจจะทำให้คาน คสล ของเราเกิดการวิบัติแบบทันทีทันได … Read More

วิศวกรรมงานสะพาน หรือ BRIDGE ENGINEERING

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขอมาเล่าให้เพื่อนๆ ได้รู้จักกันถึงอีกแขนงหนึ่งของสาขาวิชาวิศวกรรมโครงสร้าง เผื่อเพื่อนๆ ท่านใดสนใจข้อมูลในวันนี้ก็น่าที่จะมีประโยชน์นะครับ สาขาวิชานี้ก็คือ วิศวกรรมงานสะพาน หรือ BRIDGE ENGINEERING นั่นเองครับ เพื่อนๆ หลายๆ คนอาจจะงงว่ามีวิชาแขนงนี้ด้วยหรือ ? ผมขอตอบตรงนี้เลยนะครับว่า มี ครับ เพราะในงานออกแบบของวิชาแขนงนี้ต้องอาศัยทั้ง … Read More

ขั้นตอนในการคำนวณค่า EFFECTIVE INERTIA

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ยุ่งอีกตามเคยนะครับ เลยมาพบเพื่อนๆ ช้าอีกหนึ่งวัน ก่อนที่ผมจะอธิบายต่อถึงขั้นตอนในการคำนวณค่า EFFECTIVE INERTIA อย่างที่ผมได้รับปากเพื่อนๆ ไว้เมื่อวานนะครับ ในวันนี้ผมจะขอมาอธิบายเรื่องหลักการในการประเมินใช้ LOAD CASE สำหรับการคำนวณเรื่อง DEFLECTION เมื่อต้องตรวจสอบค่าการโก่งตัวของหน้าตัด คสล ที่ต้องรับแรงดัดก่อนจะดีกว่าครับ ทำไมผมถึงต้องอธิบายเรื่องนี้หรอครับ ? … Read More

วิเคราะห์โครงสร้างโดยใช้โปรแกรม STAAD.PRO

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากเนื้อหาในโพสต์ของเมื่อวันก่อนนั้นค่อนข้างได้ครับความสนใจเป็นอย่างมากจากเพื่อนๆ และ หนึ่งในหลายๆ คำถามที่ผมได้รับ คือ หากเราจะนำวิธีการ Ksoil ไป APPLY ใช้ในโปรแกรมวิเคราะห์โครงสรางใดๆ ที่อาจมี หรือ ไม่มี SPRING SUPPORT จะได้หรือไม่ ? ผมขอตอบว่า … Read More

1 20 21 22 23 24 25 26 33