การคำนวณความยาวของการตัดเหล็กปลอก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมได้นำเทคนิคการก่อสร้างง่ายๆ อย่างหนึ่งมาฝากเพื่อนๆ นะครับ ถึงแม้ว่าจะง่ายๆ แต่ผมเชื่อเหลือเกินว่าจะมีประโยชน์ต่อการทำงานของเพื่อนๆ ในระดับหนึ่งเลยครับ นั่นก็คือ “การคำนวณความยาวของการตัดเหล็กปลอก” นั่นเองนะครับ เพื่อนๆ หลายๆ คนอาจจะมีความสงสัยกันใช่มั้ยครับ ว่าการคำนวณความยาวของการตัดเหล็กปลอกนั้นทำได้ยากหรืออย่างไรกันนะ ? ผมขอตอบตรงนี้เลยนะครับว่า ไม่ยากครับ แต่ ด้วยความที่มันง่ายนั้นเพื่อนๆ หลายคนก็มักที่จะลืมคิดถึงปัจจัยอื่นๆ … Read More

SURFACE ELEMENT นี้จริงๆ แล้วมันคืออะไร ?

วัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาตอบคำถามให้แก่รุ่นพี่วิศวกรที่ผมเคารพรักท่านหนึ่งที่ท่านได้กรุณาสอบถามผมมาเกี่ยวกับเรื่องโปรแกรม FINITE ELEMENT ที่มีชื่อว่า STAAD.PRO นะครับ โดยท่านตั้งคำถามได้น่าสนใจมากว่า “ระหว่าง PLATE ELEMENT กับ SURFACE ELEMENT นั้นมีความเหมือน หรือ แตกต่างกันอย่างไร?” ก่อนอื่นผมต้องขอพูดเหมือนเช่นเคยนะครับ ว่าพี่ตั้งคำถามได้น่าสนใจมากๆ เพราะ … Read More

โจทย์ปัญหาในวิชา STRUCTURAL STABILITY

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาช่วยน้อง นศ ท่านหนึ่งที่ได้สอบถามผมมาเกี่ยวกับด้านการฝึกทำโจทย์ปัญหาในวิชา STRUCTURAL STABILITY เนื่องจากน้องท่านนี้ประสบพบเจอกับปัญหาในการ SOLVE ปัญหานี้และไม่รู้จะทำอย่างไรนะครับ ปัญหาจะเป็นชิ้นส่วนโครงสร้างดังรูปนะครับ โดยสิ่งที่ต้องการทราบ คือ ให้เราคำนวณหา CRITICAL BUCKLING LOAD ของเสาที่รับ นน ตามแนวแกนจากทางด้านบนเท่ากับ P … Read More

ทิศทางในการวางหน้าตัดของเสาเข็มที่ถูกต้อง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน หัวข้อที่ผมจะขออนุญาตมาให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ รวมไปถึงน้องวิศวกรท่านหนึ่งที่เคยฝากคำถามกับผมในวันนี้จริงๆ แล้วอาจไม่ถือว่าเกี่ยวเนื่องกันกับเรื่อง วิธีการแก้ปัญหาในกรณีที่ในการทำงานการตอกเสาเข็มนั้นไม่เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดไว้ สักเท่าใดนักนะครับ เพราะ หัวข้อในวันนี้ คือ ทิศทางในการวางหน้าตัดของเสาเข็มที่ถูกต้อง นั่นเองครับ สำหรับ ทิศทางในการวางหน้าตัดของเสาเข็มที่ถูกต้อง นั้นผมต้องขออธิบายเสียก่อนนะครับปัญหาจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อ (1) หน้าตัดของเสาเข็มของเรานั้นเป็นแบบ ไม่สมมาตรใน แกนใดแกนหนึ่ง หรือ ทุกๆ … Read More

วิธีการแก้ปัญหาในกรณีที่ในการทำงานการตอกเสาเข็มนั้นไม่เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดไว้

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ รวมไปถึงน้องวิศวกรท่านหนึ่งที่เคยฝากคำถามกับผมเกี่ยวกับเรื่อง วิธีการแก้ปัญหาในกรณีที่ในการทำงานการตอกเสาเข็มนั้นไม่เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดไว้ นะครับ โดยที่ผมได้ทำการเขียนรูป ตย มาเพื่อที่จะทำการอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ได้รับชมกันในการอธิบายครั้งนี้ด้วยนะครับ ในรูป (A) เป็นรูปการวางตำแหน่งของเสาเข็มตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดเอาไว้ในแบบ โดยจะสังเกตได้ว่าส่วนใหญ่แล้วผู้ออกแบบมักที่จะทำการกำหนดให้ระยะห่างระหว่างศูนย์กลางถึงศูนย์กลางของเสาเข็มนั้นมีระยะไม่น้อยกว่า หรือ เท่ากับ 3 เท่าของ D โดยที่ D … Read More

ตำแหน่งของระยะวิกฤติสำหรับการออกแบบแรงเฉือนในคาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน วันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาทำการยก ตย เพื่อที่จะขยายความคำอธิบายแก่เพื่อนๆ ถึงเรื่อง ตำแหน่งของระยะวิกฤติสำหรับการออกแบบแรงเฉือนในคาน นะครับ ใน ตย นี้ผมขอยก ตย คาน คสล อันหนึ่งที่มีการวางตัวอย่างง่าย (SIMPLY SUPPORTED) ที่มีช่วงความยาวเท่ากับ 8 ม คานๆ … Read More

การใช้งานโปรแกรมทาง FINITE ELEMENT

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมอยากจะขออนุญาตมาทำการขยายความถึงเนื้อหาในโพสต์ของเมื่อวานเกี่ยวเพื่อเป็นการเพิ่มพูนความรู้และความเข้าใจกับเรื่องการใช้งานโปรแกรมทาง FINITE ELEMENT แก่เพื่อนๆ ทุกท่านนะครับ อย่างที่ผมได้เรียนไปก่อนหน้านี้ว่าก่อนการใช้งานโปรกแรมทาง FINITE ELEMENT ใดๆ เราควรที่จะมีความรู้พื้นฐานถึงทฤษฎี FINITE ELEMENT ให้ดีในระดับหนึ่งเสียก่อน เพราะหากเราใช้งานโปรแกรมเหล่านี้โดยที่ไม่เข้าใจถึงมันแล้ว เราเองก็อาจจะใช้งานมันโดยขาดความถูกต้องไปได้นะครับ สำหรับความรู้ในเบื้องต้นเมื่อเพื่อนๆ จำเป็นที่จะต้องมีเกี่ยวกับโปรแกรมทาง FINITE ELEMENT อาจจะประกอบไปด้วย … Read More

การแก้ไขปัญหางานโครงสร้างฐานรากที่ใช้ระบบเสาเข็มในการก่อสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน ผมจะขออนุญาตมาแชร์ความรู้ให้แก่เพื่อนๆ ต่อจากเมื่อวานเกี่ยวเนื่องกับการแก้ไขปัญหางานโครงสร้างฐานรากที่ใช้ระบบเสาเข็มในการก่อสร้างนะครับ โดยในวันนี้จะเป็นการตอบคำถามของเพื่อนวิศวกรท่านหนึ่งที่ทิ้งคำถามไว้พักใหญ่แล้วนะครับ ซึ่งโพสต์ๆ นี้น่าที่จะเป็นโพสต์สุดท้ายเกี่ยวกับเรื่องๆ นี้สำหรับหัวข้อนี้ก่อนนะครับ เพราะ ผมมีคิวที่จะต้องโพสต์เพื่อตอบปัญหาแก่เพื่อนๆ อีกหลายเรื่องเลยน่ะครับ หากเพื่อนๆ ท่านใดมีความสนใจก็สามารถที่จะติดตามอ่านกันได้นะครับ ปัญหาที่ผมจะนำมาถกกัน และ เล่าให้เพื่อนๆ ฟังกันในวันนี้ คือ หากฐานรากของเราใช้เสาเข็มจำนวนเพียง 2 ต้น … Read More

สมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่า

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน ในวันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาแชร์และเล่าถึงประเด็นที่มีความสำคัญมากประการหนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์แรงกระทำทางด้านข้างแก่โครงสร้างของอาคารอันเนื่องมาจากแรงลมให้แก่เพื่อนๆ ได้ทราบกันนะครับ หัวข้อนั้นก็คือ สมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่า ซึ่งเป็นรูปแบบการคำนวณแรงลมตามมาตรฐานฉบับใหม่ของกรมโยธาธิการและผังเมืองนะครับ โดยหากอ้างอิงตาม มยผ 1311-50 หรือ มาตรฐานการคำนวณแรงลมและการตอบสนองของอาคารนะครับ หากเรามาดูสมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่าจะพบว่าหน้าตาของสมการนี้เป็นดังต่อไปนี้นะครับ P = Iw q Ce Cg Cp ในวันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาขยายความถึงค่า … Read More

กำลังของวัสดุ (STRENGTH OF MATERIALS)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หลังจากที่เมื่อวันก่อนผมได้กล่าวถึงเรื่องการวิเคราะห์โครงสร้าง (STRUCTURAL ANALYSIS) ให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกันไปแล้ว และ ผมก็ได้รับคำถามจากน้องนักศึกษาที่กำลังเรียนอยู่ในสาขาทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ท่านหนึ่งเกี่ยวกับเรื่องวัสดุที่ใช้ในงานวิศวกรรมโครงสร้างซึ่งจะต่อเนื่องมาจากเนื้อหาที่ผมได้โพสต์ไปแล้วนะครับ ในวันนี้ผมจึงอยากที่จะขออนุญาตมาแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ถึงเรื่องกำลังของวัสดุ (STRENGTH OF MATERIALS) กันบ้างนะครับ โดยเรื่องที่ผมจะมากล่าวถึงในวันนี้ก็คือ ความสัมพันธ์ระหว่างค่าหน่วยแรง (STRESS) และ ค่าความเครียด … Read More

1 18 19 20 21 22 23 24 33