การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ จริงๆ แล้วประเด็นสำคัญเมื่อเราต้องทำการออกแบบโครงสร้าง คอนกรีต หรือ เหล็ก ก็แล้วแต่ที่มีลักษณะรูปทรง (GEOMETRY) ที่มีความโค้งตัวตามแนวราบ เช่น คานโค้ง … Read More

วันครูแห่งชาติ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากในวันนี้ตรงกับวันครูแห่งชาติ ซึ่งจะตรงกับทุกๆ วันที่ 16 มกราคม ของทุกๆ ปี ซึ่งจุดประสงค์ในการมีวันครูแห่งชาตินี้ ก็เพื่อให้ผู้เป็นนักเรียนนักศึกษาได้รำลึกถึงพระคุณของผู่ที่เป็นครูบาอาจารย์ ผู้คอยทำหน้าที่แม่พิมพ์ และ พ่อพิมพ์ ของชาติที่ได้กระทำการอบรมสั่งสอนพวกเรามาตั้งแต่ยังเล็ก ทำให้พวกเรานั้นได้เป็นคนที่ดีของสังคมและยังรู้ศาสตร์ต่างๆ และให้เรามีทักษะวิชาทางด้านการทำงานต่างๆ ติดตัวเราไปตลอดด้วยนะครับ ดังนั้นจึงอาจจะสามารถถือได้ว่า ครู หรือ … Read More

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาตอบคำถามสั้นๆ ง่ายๆ แต่ น่าจะมีประโยชน์ที่เพื่อนของผมท่านหนึ่งเคยสอบถามผมไว้พักใหญ่ๆ แล้วข้อหนึ่ง นั่นก็คือ “หากว่ามีความประสงค์ที่จะทำการขุดและถมดินในบริเวณที่ดินที่ซื้อเอาไว้ อยากที่จะรบกวนให้ผมช่วยทำการอธิบายและเล่าให้ทราบถึงข้อพิจารณาในการทำงานขุดและถมดินให้ได้ทราบได้หรือไม่ครับ … Read More

การคำนวณเพื่อการตรวจสอบค่าแรงเฉือนทะลุ (PUNCHING SHEAR)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาตอบคำถามของเพื่อนวิศวกรที่เคยสอบถามผมมาหลังไมค์ก่อนหน้านี้ว่า “เหตุใดก่อนหน้านี้ตอนที่ผมทำการอธิบายว่าในตรวจสอบค่าแรงเฉือนทะลุ (PUNCHING SHEAR) ผมจึงได้ทำการระบุว่าให้ใช้สมการในการคำนวณหาค่าความสามารถในการรับกำลังแรงเฉือนทะลุโดยคอนกรีตเท่ากับ 1.06 ϕ √fc’ bo d เพียงสมการเดียว เพราะ เหมือนตอนที่เพื่อนท่านนี้เรียนมาจะจำได้ว่า มีหลายสมการในการตรวจสอบมากๆ รบกวนผมช่วยอธิบายประเด็นนี้หน่อยได้หรือไม่ครับ ?” ขอปรบมือรัวๆ ให้กับคำถามข้อนี้เลยนะครับ เป็นคำถามที่ดีมากๆ … Read More

ตรวจการทำงานของทางผู้รับเหมาที่หน้างาน โดยที่เพื่อนๆเองอาจจะไม่ใช่วิศวกร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน จริงๆ แล้วที่ผ่านๆ มาในโพสต์ของผมๆ หลายๆ โพสต์ผมได้พยายามที่จะนำเสนอเนื้อหาสาระให้แก่เพื่อนๆ ทั้งที่เป็น วิศวกร และ บุคคลธรรมดาทั่วๆ ไป ด้วยนะครับ เพียงแต่ว่าเนื้อหาในบางวันก็อาจจะเน้นหนักไปในทิศทางใดทิศทางหนึ่งก็ขึ้นอยู่กับหัวข้อในวันนั้นๆ นะครับ แต่ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาแชร์ความรู้แก่แฟนเพจทั่วๆ ไปที่ไม่ใช่วิศวกรกันบ้างก็แล้วกันนะครับ โดยหัวข้อในวันนี้ คือ “หากเพื่อนๆ … Read More

ตัวเลขต่างๆ ใน FLEXIBILITY MATRIX มีที่มาที่ไปอย่างไร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากเมื่อวานนี้หลังจากที่ผมสอบในวิชา NONLINEAR FINITE ELEMENTS FOR STRUCTURES เสร็จ ผมก็มีโอกาสได้ไปพบเจอกันกับรุ่นน้อง ป โท ท่านหนึ่งกำลังนั่งอ่านหนังสือ DYNAMICS OF STRUCTURES-THEORY ANDAPPLICATIONS TO EARTHQUAKE ENGINEERING … Read More

ขนาดความลึกที่เหมาะสมของโครงถักเหล็ก หรือ STEEL TRUSS

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หลังจากที่ในการโพสต์ครั้งก่อนนี้ผมได้ให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ทุกคนรวมไปถึงเพื่อนที่เป็นสถาปนิกถึงเรื่อง ขนาดที่เหมาะสมของเสา ไปแล้วนะครับ ผมได้รับคำถามเพิ่มเติมมาอีกว่าอยากให้ผมนั้นให้คำแนะนำเกี่ยวกับเรื่อง ขนาดความลึกที่เหมาะสมของโครงถักเหล็ก หรือ STEEL TRUSS ด้วยนะครับ หากเป็นเช่นนั้นผมก็ขอจัดให้ตามคำร้องขอเลยก็แล้วกันนะครับ เพื่อนๆ ดูรูปประกอบด้วยนะครับ โดยผมขอแบ่งประเภทของโครงถักออกเป็น 2 รูปแบบหลักๆ คือ (1) … Read More

ตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะ สำหรับการเจาะสำรวจชั้นดิน ในพื้นที่ต่างจังหวัด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากในครั้งที่แล้วผมได้นำตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับการเจาะสำรวจชั้นดินในเขตพื้นที่ กทม และ ปริมณฑล มาฝากเพื่อนๆ พร้อมกับได้ให้คำอรรถาธิบายไปพอสังเขปแล้ว ในวันนี้ผมจึงอยากที่จะขออนุญาตนำข้อมูลและตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับการเจาะสำรวจชั้นดินในพื้นที่ต่างจังหวัด มาเล่าให้เพื่อนๆ ฟังพร้อมกันกับนำข้อมูลมาถกกันด้วยว่าเพราะเหตุใดข้อมูลจากทั้งสองตารางนี้จึงมีความแตกต่างกันนะครับ ก่อนอื่นผมอยากให้เพื่อนๆ เริ่มต้นดูรูปที่แสดงตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับการเจาะสำรวจชั้นดินในพื้นที่ต่างจังหวัดกันก่อนนะครับ หากเพื่อนๆ สังเกตดูดีๆ จะพบว่าช่องที่แสดงค่า ความลึกของหลุมเจาะ ในตารางๆ นี้จะมีความแตกต่างออกไปจากตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับการเจาะสำรวจชั้นดินในเขตพื้นที่ กทม และ … Read More

ตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะ สำรวจชั้นดินในเขตพื้นที่ กทม และ ปริมณฑล

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากมีเพื่อนของพวกเราได้สอบถามผมมาว่า จากตารางที่แสดงค่าความลึกของหลุมเจาะที่เราควรที่จะใช้ในการทดสอบดินที่มีความเหมาะสมและสอดคล้องกันกับขนาดและความสูงของอาคารที่เรามีความต้องการที่จะทำการก่อสร้าง ที่ผมนำมาฝากเพื่อนๆ ในการโพสต์ก่อนหน้านี้นั้นมีหน่วยงานใดที่ให้คำแนะนำให้ใช้ตารางนี้นะครับ ก่อนอื่นผมต้องขออนุญาตชื่นชมในตัวของน้องท่านนี้ก่อนนะครับที่ได้กรุณาสอบถามคำถามข้อนี้มา เพราะ หากขึ้นชื่อว่าเป็นวิศวกรที่ดี เรามักที่จะต้องเป็นนักปฎิบัติงานที่ต้องทำงานภายใต้มาตรฐานการทำงานที่ดีและมีความเชื่อถือได้ ทั้งนี้เพราะเมื่อต้องนำหลักการหนึ่งหลักการใดจากมาตรฐานเหล่านี้ไปปฎิบัติใช้ในการทำงานจริงๆ ได้เราก็ต้องสามารถที่จะอ้างอิงไปยังมาตรฐานนั้นๆ ได้ด้วยนะครับ ซึ่งผมถือว่าส่วนหนึ่งของคำถามข้อนี้นั้นเป็นความบกพร่องของผมเองนะครับที่ไม่ได้ทำการกล่าวอ้างอิงถึงแหล่งที่มาของข้อมูลๆ นี้นะครับ ยังไงผมจะขออนุญาตเก็บประเด็นนี้เอาไว้เพื่อที่จะดำเนินการแก้ไขในการโพสต์ครั้งต่อๆ ไปนะครับ เอาเป็นว่าผมขออนุญาตตอบคำถามข้อนี้เลยก็แล้วกันนะครับ ข้อมูลที่ผมได้ให้คำแนะนำไปกับเพื่อนๆ ไปนั้นมีการอ้างอิงมาจากเอกสารหนังสือ … Read More

เสาเข็มที่จะใช้ในการก่อสร้างแผ่นพื้นไร้คานแบบไม่มีแป้นหัวเสา จำเป็นที่จะต้องมีเหล็กเดือย หรือ DOWEL BAR หรือไม่ ?

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาตอบคำถามของเพื่อนเราที่ถามมาทางหลังไมค์ว่า “หากจะทำการก่อสร้างแผ่นพื้นไร้คานแบบไม่มีแป้นหัวเสา หรือ FLAT PLATE เพื่อที่จะใช้รองรับ นน บรรทุกจักรจากเครื่องจักรที่มีการใช้งานอยู่ อยากจะสอบถามว่า เสาเข็มที่จะใช้ในการก่อสร้างนั้นจำเป็นที่จะต้องมีเหล็กเดือย หรือ DOWEL BAR หรือไม่ ?” ก่อนที่ผมจะทำการตอบคำถามข้อนี้ผมอยากที่จะนำเพื่อนๆ ให้มาดู ตย … Read More

1 17 18 19 20 21 22 23 33