การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ วันนี้ผมจะมาทำการ DISCUSS และแลกเปลี่ยนกันกับเพื่อนๆ ถึงประเด็นคำถามที่ผมได้ฝากเอาไว้แก่เพื่อนๆ ทุกคนเมื่อวาน แต่ ก่อนอื่นเรามาทวนคำถามกันสักเล็กน้อยก่อนนะครับ จากรูปจะเห็นได้ว่ามีโครงหลังคาเหล็กอยู่โครงหนึ่งที่ในแกน X นั้นจะมีระยะห่างของช่วงว่าง … Read More

การแนะนำตัวเองเวลาไปทำการสัมภาษณ์งาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW) นะครับ วันนี้ผมจะมาให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ให้รู้จักกับวิธีในการที่เพื่อนๆ จะทำการแนะนำตนเอง โดยที่วันนี้ผมจะเน้นการที่เราแนะนำตัวเองเวลาไปทำการสัมภาษณ์งานเป็นหลักนะครับ เริ่มจากประโยคแรก คือ การกล่าว ชื่อ และ สกุล … Read More

เฉลยข้อสอบ กพ ที่เป็นในส่วนการสอบในภาค ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์วิศวกรรม (ENGINEERING MECHANICS COMPUTATION หรือ EMC) นะครับ วันนี้ผมจะมาเฉลยข้อสอบ กพ ที่เป็นในส่วนการสอบในภาค ก ที่เป็นประเด็นพูดถึงกันมากอยู่ในเฟซบุ้คในขณะนี้นะครับ จริงๆ แล้วปัญหาข้อนี้ไมได้มีความสลับซับซ้อนอะไรมากนักนะครับ ไม่ต้องท่องจำ สูตร หรือ สมการ … Read More

การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ จากรูปจะเห็นได้ว่า เพื่อนๆ มีโอกาสได้ไปเที่ยวสวนสาธารณะที่มีสระว่ายน้ำกว้างๆ เรามักจะพบว่าที่บริเวณขอบของสระว่ายน้ำ จะมีกำแพงกันดินที่กั้นระหว่างดินและน้ำอยู่เสมอ โดยหากเพื่อนๆ สังเกตดูดีๆ ก็มักจะพบว่ากำแพงกันดินดังกล่าวนี้จะมีโครงสร้างที่ซ่อนอยู่ดังรูป คำถามก็คือ ชิ้นส่วนโครงสร้างนี้คืออะไร และ … Read More

“ENGINEERING”

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้เป็นหัวข้อใหม่นะครับ เพราะ CEO หนุ่มแห่งภูมิสยามนั้นมีวิสัยทัศน์ว่า ขณะนี้ประเทศไทยได้เข้าสู่ยุค AEC แล้ว คุณโอ จึงมีความต้องการที่จะเพิ่มเติมความรู้ทางด้านภาษาอังกฤษให้แก่นักเรียนและนักศึกษาที่กำลังศึกษาอยู่ใน โรงเรียน วิทยาลัย และ มหาวิทยาลัย ต่างๆ อยู่ในขณะนี้ จึงเป็นที่มาที่ไปของหัวข้อใหม่ของเราในวันนี้ นั่นก็คือหัวข้อ ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH … Read More

จุดหมุนพลาสติก (PLASTIC HINGE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ สืบเนื่องจากโพสต์ก่อนหน้านี้ของผมเกี่ยวกับเรื่อง การฝังยึดโครงสร้าง เสา คสล ในจุดรองรับแบบต่างๆ กัน ซึ่งในโพสต์ๆ นั้นมีรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกันกับประเด็นๆ หนึ่งที่มีเพื่อนของเราท่านหนึ่งมีความสนใจพอดี … Read More

การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC)นะครับ เนื่องจากเมื่อหลายวันก่อนผมได้โพสต์ไปเกี่ยวกับเรื่อง การคำนวณเพื่อวิเคราะห์โครงสร้าง (STRUCTURAL ANALYSIS) เพื่อที่จะหาค่าการเสียรูปที่ปลายของคาน (DISPLACEMENT) โดยในปัญหาข้อนี้ผมใช้ทฤษฎีที่ 2 ของคาสติเกลียโน (CASTIGLIANO’S 2ND THEOREM) วันนี้น้องท่านเดิมได้สอบถามผมมาว่า … Read More

ต้องการที่จะออกแบบให้เสาเข็ม สามารถรับแรงถอน (PULLOUT FORCE) ได้ มีวิธีในการออกแบบเสาเข็มอย่างไรบ้าง ?

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ เนื่องจากมีน้องวิศวกรท่านหนึ่งฝากคำถามเอาไว้หลังไมค์ว่า “หากผมต้องการที่จะออกแบบให้เสาเข็มนั้นสามารถที่จะรับแรงถอน (PULLOUT FORCE) ได้ ไม่ทราบว่าจะมีวิธีในการออกแบบเสาเข็มอย่างไรได้บ้างครับ ?” ด้วยความยินดีครับ พูดง่ายๆ … Read More

กลไกที่ทำให้การปรับเปลี่ยนมุมของอาคาร ช่วยลดความรุนแรงของแรงลมได้

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง การออกแบบงานวิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว (WIND & SEISMIC ENGINEERING DESIGN หรือ WSE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาอธิบายต่อถึงเหตุผลว่าด้วยกลไกที่ทำให้การปรับเปลี่ยนมุมของอาคารนั้นช่วยลดความรุนแรงของแรงลมได้กันต่ออีกสักโพสต์ก็แล้วกันนะครับ หากจะอธิบายถึงสาเหตุที่ทำให้การปรับเปลี่ยนมุมของอาคารนั้นช่วยลดความรุนแรงของแรงลมได้เราต้องย้อนกลับไปที่เรื่องกลศาสตร์ของไหล (MECHANICS OF FLUID) นะครับซึ่งจะมีความละเอียดและซับซ้อนพอสมควรนะครับ ผมจึงจะขออนุญาตทำการอธิบายแต่เพียงสังเขปก็แล้วกันนะครับ สาเหตุหลักๆ … Read More

การออกแบบบันไดภายนอก (EXTERIOR STAIRCASE) ในตัวอาคาร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างอาคารสูง (TALL BUILDING DESIGN หรือ TBD) นะครับ เนื่องจากเมื่อเร็วๆ นี้ผมได้มีโอกาสออกแบบอาคารสูงอยู่หลังหนึ่ง และ ได้มีจังหวะหลังการประชุมงานนั่งทานกาแฟและพูดคุยกับสถาปนิกผู้ออกแบบในโครงการนั้นๆ เราได้แลกเปลี่ยนข้อมูลและมุมมองในการออกแบบซึ่งกันและกัน และ ตัวของผมเองได้รับทราบข้อมูลดีๆ และ น่าที่จะเป็นประโยชน์ต่องานออกแบบต่อๆ ไปของตัวผมเอง … Read More

1 15 16 17 18 19 20 21 33