ALIGNMENT CHART เพื่อจุดประสงค์ในการคำนวณหาค่า EFFECTIVE LENGTH FACTOR หรือค่า K

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เนื่องจากเมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมานั้นผมได้โพสต์และอธิบายถึงเรื่องวิธีในการคำนวณหาค่า EFFECTIVE LENGTH FACTOR หรือค่า K เมื่อเราต้องทำการออกแบบโครงสร้างเหล็กรับแรงอัดโดยใช้ ALIGNMENT … Read More

ค่าคาบการสั่นไหวพื้นฐาน หรือ NATURAL VIBRATION PERIOD ของอาคาร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างอาคารสูง (TALL BUILDING DESIGN หรือ TBD) นะครับ เนื่องจากเมื่อประมาณ 2 สัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมไปเป็นวิทยากรบรรยายและให้ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบโครงสร้างให้สามารถที่จะต้านทานต่อแรงกระทำจากแผ่นดินไหวให้แก่หน่วยงานเอกชนหน่วยงานหนึ่ง ซึ่งในวันนี้ยังเป็นแค่การบรรยายในส่วนพื้นฐานเพียงเท่านั้น ผมยังไมไดลงลึกในรายละเอียด และ ยังไมได้แสดง ตย ในการออกแบบ ได้มีน้องวิศวกรท่านหนึ่งได้สอบถามผมมาเกี่ยวกับขั้นตอนในการคำนวณ … Read More

ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW) “Effect” และ “Affect”

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW) นะครับ เพื่อนๆ คงที่จะเคยได้ยินคำว่า “Effect” และ “Affect” กันมาบ้างใช่หรือไม่ครับ ? ทราบหรือไม่ครับว่าจริงๆ แล้วคำสองคำนี้ใช้ … Read More

ชิ้นส่วนโครงสร้างเสาเหล็ก (STEEL COLUMN) กับชิ้นส่วนจุดรองรับที่เป็นตอม่อคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน   หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ   พบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันเสาร์แบบนี้นะครับ และ เหมือนเช่นเคยนะครับ วันนี้ผมจะมีคำถามที่อยากจะขอเชิญชวนให้เพื่อนๆ นั้นได้มาร่วมสนุกตอบคำถามด้วยกันนะครับ ผมจะขออนุญาตทำการสมมติว่าเพื่อนๆ … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน   หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ ผมเชื่อเหลือเกินว่าในทุกๆ ครั้งที่เพื่อนๆ นั้นนั่งอ่านแบบวิศวกรรมโครงสร้างเหล็ก จะต้องอ่านแบบ ที่แสดงรายละเอียดต่างๆ ของจุดต่อของโครงสร้าง (STRUCTURAL … Read More

เฉลยคำตอบในการสอบใบประกอบวิชาชีพในระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกเช่นเคยในวันบ่ายจันทร์แบบนี้โดยที่หัวข้อในวันนี้ผมจะมาเฉลยคำตอบในการสอบใบประกอบวิชาชีพในระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกรนะครับ ในวันนี้จะเป็นข้อสอบในวิชา REINFORCED CONCRETE DESIGN นะครับ โดยที่ข้อสอบข้อนี้มีรายละเอียดของถามว่า ข้อที่ 192 ในการออกแบบฐานรากวางบนเสาเข็มตามรูป แรงอัดสูงสุดที่เสาเข็มต้องรับพิจารณาได้จากข้อใด เฉลย เทคนิคในการที่เราจะทำการแก้ปัญหาในวิชาการออกแบบโครงสร้างฐานรากวางบนเสาเข็ม คสล ที่ควรทำมีเทคนิคง่ายๆ ดังต่อไปนี้นะครับ อย่างแรกเลย คือ ดูเสียก่อนว่าลักษณะของฐานรากนั้นๆ มีสภาพความหนาเป็นไปตามสมมติฐานของ … Read More

เทคนิคในการจี้คอนกรีตที่ถูกต้อง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมมีเทคนิคง่ายๆ ที่จริงๆ แล้วเป็นพื้นฐานของการทำงานเทคอนกรีตเลยก็ว่าได้นะครับ แต่ หลายๆ คนอาจจะหลงลืมไป หรือ ลืมนึกถึงความสำคัญไปจึงทำให้เกิดปัญหาตามมามากมายเลย ซึ่งเรื่องนี้ก็คือ เทคนิคในการจี้คอนกรีต ที่ถูกต้องนั่นเองนะครับ … Read More

เคมีภัณฑ์สำหรับยึดจับเหล็กเสริมที่ใช้ในงาน คสล (CHEMICAL ANCHOR STEEL)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ ช่วงบ่ายของเมื่อวานนี้มีเกลอเก่าของผมท่านหนึ่งได้อินบ็อกซ์เข้ามาปรึกษาผมเกี่ยวกับปัญหาในการทำงานวิศวกรรมฐานรากกับผมว่า ในงานการก่อสร้างโรงงานแห่งหนึ่ง ผู้ออกแบบกำหนดให้ใช้เสาเข็มขนาดความยาว 12 ม/ท่อน แบบ 2 ท่อนต่อกันและเชื่อมรอยต่อ … Read More

เคมีภัณฑ์สำหรับยึดจับเหล็กเสริมที่ใช้ในงาน คสล (CHEMICAL ANCHOR STEEL)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เนื่องจากมีเพื่อนวิศวกรท่านหนึ่งของผมท่านหนึ่งได้สอบถามผมมาในอินบ็อกซ์เกี่ยวกับเรื่อง เคมีภัณฑ์สำหรับยึดจับเหล็กเสริมที่ใช้ในงาน คสล (CHEMICAL ANCHOR STEEL) โดยมีรายละเอียดพอจับใจความได้ว่า “ผมมีความจำเป็นต้องเลือกใช้งานเคมีภัณฑ์สำหรับยึดจับเหล็กเสริมที่ใช้ในงาน คสล จึงอยากจะสอบถามผมว่าเราจะมีวิธีการคำนวณและดูค่าจากในตารางคู่มือการใช้งานว่า … Read More

ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW) นะครับ วันนี้ผมจะมาให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ให้รู้จักกับความสำคัญของคำกริยาประเภท Verb to be โดยที่วันนี้ผมจะเน้นไปที่คำว่า is am และ are … Read More

1 14 15 16 17 18 19 20 33