เฉลยคำตอบ ข้อสอบในวิชา THEORY OF STRUCTURES ข้อที่ 69

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกเช่นเคยในวันบ่ายจันทร์แบบนี้โดยที่หัวข้อในวันนี้ผมจะมาเฉลยคำตอบในการสอบใบประกอบวิชาชีพในระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกรนะครับ ในวันนี้จะเป็นข้อสอบในวิชา THEORY OF STRUCTURES นะครับ โดยที่ข้อสอบข้อนี้มีรายละเอียดของถามว่า ข้อที่ 69 จากโครง Truss ที่แสดง แรงภายในชิ้นส่วน HC เท่ากับ เฉลย สิ่งที่เราควรทำเมื่อเจอปัญหาแบบนี้นอกจากการมองให้ออกว่าโครงสร้างโครงข้อหมุนของเรานั้นจะสามารถที่จะทำการวิเคราะห์โครงสร้างได้โดยวิธี อย่างง่าย … Read More

ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW) นะครับ วันนี้ผมจะมาเอาใจเพื่อนๆ ที่จะต้องไปสมัครงานและจำเป็นที่จะต้องพูดเป็นภาษาอังกฤษด้วยนะครับ และ เนื่องจากว่าหากจะโพสต์เนื้อหาทั้งหมดไว้ในโพสต์นี้เพียงโพสต์เดียวก็เกรงว่าจะเนื้อหาจะเยอะเกินไป ผมจึงขออนุญาตแบ่งเนื้อหาในโพสต์ๆ นี้ออกเป็นหลายๆ โพสต์ก็แล้วกันนะครับ จะได้ไม่ยาวและน่าเบื่อจนเกินไป   … Read More

หลังคาเพิง หรือ ภาษาชาวบ้านก็มักจะเรียกกันง่ายๆ ว่า หลังคาทรงหมาแหงน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ หากเพื่อนๆ สังเกตกันสักนิดว่าในปัจจุบันสิ่งหนึ่งที่เรามักจะพบในบ้านที่มีรูปแบบที่ทันสมัยหรือที่เรามักจะเรียกกันจนติดปากว่า บ้านสไตล์โมเดิร์น นั่นก็คือ หลังคาเพิง หรือ ภาษาชาวบ้านก็มักจะเรียกกันง่ายๆ ว่า … Read More

สาเหตุทางกายภาพของการเกิด รูตามด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาอธิบายถึงสาเหตุทางกายภาพของการเกิด รูตามด ซึ่งก็จะรวมไปถึงเทคนิคในการทำงานอย่างไร ที่จะช่วยทำให้ รูตามด นั้นเกิดขึ้นน้อยลงหรือไม่เกิดขึ้นเลยเมื่อเพื่อนๆ ต้องทำงานเทคอนกรีตสดไปในโครงสร้างนะครับ   เรามาเริ่มต้นกันที่สาเหตุก่อนก็แล้วกันนะครับ … Read More

ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW) นะครับ หากเพื่อนๆ ยังจำได้อาจเป็น ตอนเรียนหนังสือ หรือ ตอนที่ทำงานจริงๆ ก็แล้วแต่ เวลาที่เพื่อนๆ ต้องทำการบ้านใน TEXT … Read More

การคำนวณวิเคราะห์หาค่ากำลังรับโมเมนต์ดัดระบุของหน้าตัดคาน คสล รูปตัว T คว่ำ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการยก ตย การคำนวณวิเคราะห์หาค่ากำลังรับโมเมนต์ดัดระบุของหน้าตัดคาน คสล รูปตัว T คว่ำให้เพื่อนๆ ได้รับชมกันนะ โดยที่ผมได้แบ่งกรณีของการยก … Read More

เฉลยคำตอบในข้อสอบในวิชา STRUCTURAL STEEL DESIGN ข้อที่ 199

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกเช่นเคยในวันบ่ายจันทร์แบบนี้โดยที่หัวข้อในวันนี้ผมจะมาเฉลยคำตอบในการสอบใบประกอบวิชาชีพในระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกรนะครับ ในวันนี้จะเป็นข้อสอบในวิชา STRUCTURAL STEEL DESIGN นะครับ โดยที่ข้อสอบข้อนี้มีรายละเอียดของถามว่า   ข้อที่ 199 ขนาดการเชื่อมในทางปฏิบัติไม่ควรเล็กกว่ากี่ mm   เฉลย โดยที่ขนาดเล็กสุดของขาเชื่อมนั้นเราจะพิจารณาโดยจะให้ขึ้นอยู่กับความหนาของชิ้นโลหะที่มีความหนา มากกว่า เป็นหลักนะครับ   … Read More

เฉลยคำตอบ ข้อสอบในวิชา STRUCTURAL STEEL DESIGN ข้อที่ 65

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกเช่นเคยในวันบ่ายจันทร์แบบนี้โดยที่หัวข้อในวันนี้ผมจะมาเฉลยคำตอบในการสอบใบประกอบวิชาชีพในระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกรนะครับ ในวันนี้จะเป็นข้อสอบในวิชา STRUCTURAL STEEL DESIGN นะครับ โดยที่ข้อสอบข้อนี้มีรายละเอียดของถามว่า ข้อที่ 65 ค่า kL/r ของแกนที่แข็งแรงและแกนที่อ่อนแอของหน้าตัดเสาเหล็กรูปพรรณ W200x21.3 ที่มีการค้ำยันบนแกนที่แข็งแรงเท่ากับ 6 ม และบนแกนที่อ่อนแอเท่ากับ 4 … Read More

อธิบายค่าต่างๆในสมการ การคำนวณหาค่าระยะค้ำยันทางด้านข้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการอธิบายค่าต่างๆ ในสมการข้างต้นพร้อมกับยก ตย ง่ายๆ ในการคำนวณหาค่าระยะค้ำยันทางด้านข้างแก่เพื่อนๆ ทุกๆ คนนะครับ เพื่อเป้กรไม่เสียเวลาเรามาเริ่มจากค่าแรกกันเลยครับ … Read More

การคำนวณหา ค่าสัมประสิทธิ์โมเมนต์ดัด หรือ BENDING MOMENT COEFFICIENT

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เนื่องจากเมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมานั้นผมได้โพสต์และอธิบายถึงเรื่องวิธีในการคำนวณหา ค่าสัมประสิทธิ์โมเมนต์ดัด หรือ BENDING MOMENT COEFFICIENT ให้แก่เพื่อนๆ ไปแล้ว … Read More

1 13 14 15 16 17 18 19 33