โครงสร้างพื้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่โพสต์ในวันนี้ของผมๆ จำเป็นที่จะต้องขออนุญาตทำการคั่นการกล่าวถึงเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่อง โครงสร้างพื้น ต่อเนื่องจากเมื่อสัปดาห์ที่แล้วด้วยเนื้อหาในวันนี้สักหน่อยเพราะว่ามีประเด็นเรื่องความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนออกไปของเพื่อนสมาชิกแฟนเพจบางท่านเกี่ยวกับหัวข้อๆ หนึ่งที่ผมเคยได้โพสต์อธิบายไปก่อนหน้านี้ ซึ่งผมก็ต้องขอกล่าวย้อนไปถึงโพสต์ก่อนหน้านี้เมื่อช่วงต้นปีที่ผ่านมาซึ่งก็คือประมาณเดือนกุมภาพันธ์ที่ผมได้โพสต์รูปเสาเหล็กพร้อมกับเหล็กแผ่นพร้อมกับเนื้อความในโพสต์ว่า   โครงสร้างเสาเหล็กในรูปที่แสดงนั้นได้ถูกทำการยึดและติดตั้งลงไปบนเหล็กแผ่นเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ซึ่งเราจะสามารถเห็นว่ามีช่องว่างเหลืออยู่ได้ด้วยตาเปล่าเลยซึ่ง “ตามปกติ” แล้วในแบบวิศวกรรมโครงสร้างจะมีการระบุให้ทำการเติมช่องว่างเหล่านี้ให้เต็มโดยใช้วัสดุจำพวก … Read More

หลักในการออกแบบ แผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคาน และ แผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนเสา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ก่อนที่จะเริ่มต้นทำการอธิบายถึงหลักในการออกแบบ แผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคาน และ แผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนเสา นั้นวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการกล่าวนำให้เพื่อนๆ ได้มีความรู้พื้นฐานกันสักเล็กน้อยเกี่ยวกับเรื่องชนิดของโครงสร้างที่มีชื่อว่า พื้น นี้กันสักเล็กน้อยก่อนนะครับ   จริงๆ แล้วแผ่นพื้น … Read More

ปัญหาทั่วๆ ไปในอาคารบ้านเรือน เรื่อง ความชื้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะมาแชร์ความรู้เกี่ยวกับปัญหาๆ หนึ่งที่พวกเราหลายๆ คนอาจจะพบเจอได้ทั่วๆ ไปในอาคารบ้านเรือนของพวกเราเอง โดยเฉพาะในอาคารที่มีอายุการใช้งานของอาคารนั้นๆ นานมากๆ แล้วซึ่งปัญหาปัญหานี้อาจจะดูเป็นปัญหาเล็กๆ แต่จริงๆ แล้วไม่เล็กเลยและอาจจะเป็นปัญหาซึ่งนำมาซึ่งผลพวงของปัญหาอื่นๆ ที่มีความหนักหน่วงมากกว่าตามมาอีกอย่างมากมายด้วย นั่นก็คือปัญหาเรื่อง ความชื้น นั่นเองนะครับ   … Read More

ตัวอย่างของรอยเชื่อมแบบ ดี และ ไม่ดี

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากที่ก่อนหน้านี้ผมได้เคยนำเสนอถึงเนื้อหาต่างๆ เกี่ยวกับปัญหาของการทำงานโครงสร้างเหล็กที่เกี่ยวข้องกันกับเรื่อง รอยเชื่อม ที่ทั้ง ดี และ ไม่ดี ให้แก่เพื่อนๆ ทุกคนไปแล้วแต่ก็ยังมิวายมีเพื่อนๆ ของผมหลายๆ คนยังอินบ็อกซ์กันเข้ามาสอบถามผมว่า อยากที่จะเห็นตัวอย่างของรอยเชื่อมเหล่านี้ว่าแบบ ดี และ … Read More

ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ จริงๆ แล้วเนื้อหาของการโพสต์ในวันนี้ยังคงวนเวียนอยู่ในเรื่องเดิมๆ จากเนื้อหาของเมื่อ 2 วัน ก่อนหน้านี้นั่นก็คือ เรื่อง การที่เสาเข็มต้องรับแรงดึง นั่นเองนะครับ   โดยที่ได้มีคำถามเข้ามาจากเพื่อนๆ … Read More

เสาเข็มเกิดการทรุดตัวที่ไม่เท่ากัน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอาภาพสเก็ตช์ของปัญหาๆ หนึ่งที่แฟนเพจท่านหนึ่งได้อินบ็อกซ์เข้ามาปรึกษากับผม ผมจึงคิดว่าน่าที่จะมีประโยชน์เลยนำประเด็นๆ นี้มาฝากเพื่อนๆ ทุกๆ คนให้ได้รับทราบร่วมกัน นั่นก็คือเรื่อง เสาเข็มเกิดการทรุดตัวที่ไม่เท่ากัน นั่นเองนะครับ   เพื่อนๆ คงจะมีความคุ้ยเคยและคงเคยได้ยินประโยคในทำนองที่ว่า   “การเลือกใช้ฐานรากเป็น … Read More

การที่ไม่เลือกใช้ระบบฐานรองรับโครงสร้างที่มีความเหมาะสม ทำให้พื้นบริเวณนั้นเกิดการทรุดตัวที่แตกต่างกันมากจนเกินไป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอาภาพปัญหาที่ไปพบเจอมาจริงๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับปัญหาโลกแตกในบ้านเราปัญหาหนึ่งนั่นก็คือ การที่เราไม่เลือกทำการใช้ระบบฐานรองรับโครงสร้างที่มีความเหมาะสมจนทำให้พื้นบริเวณนั้นเกิดการทรุดตัวที่แตกต่างกันมากจนเกินไป นั่นเองนะครับ   จริงๆ ผมเคยยก ตย กรณีแบบนี้ให้เพื่อนๆ ดูหลายครั้งแล้วนะครับ กรณีนี้ก็เช่นเดียวกันซึ่งจะเห็นได้จากรูปทั้ง 5 ว่าพื้นที่เกิดการทรุดตัวลงไปนั้นจะเป็น พื้นวางบนดิน … Read More

วิธีในการคำนวณ ค่ากำลังรับน้ำหนักบรรทุกของชั้นดินของฐานรากแบบตื้น หรือ BEARING CAPACITY OF SOIL FOR SHALLOW FOUNDATION

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาเริ่มต้นทำการให้คำแนะนำและทำการอธิบายแก่เพื่อนๆ ทุกคนให้ได้มีความรู้พื้นฐานรวมไปถึงการทำความรู้จักกันกับวิธีในการคำนวณ ค่ากำลังรับน้ำหนักบรรทุกของชั้นดินของฐานรากแบบตื้น หรือ BEARING CAPACITY OF SOIL FOR SHALLOW FOUNDATION … Read More

แผนภูมิที่ทำหน้าที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ค่าของแรง และ ค่าของการเคลื่อนที่ หรือที่เรานิยมเรียกกันในภาษาอังกฤษว่า HYSTERESIS GRAPH

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตพาเพื่อนๆ ทุกคนไปเรียนรู้กันต่อถึงเรื่อง แผนภูมิที่ทำหน้าที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ค่าของแรง และ ค่าของการเคลื่อนที่ หรือที่เรานิยมเรียกกันในภาษาอังกฤษว่า HYSTERESIS GRAPH กันต่อเป็นโพสต์สุดท้ายของช่วงๆ นี้ก่อนที่เราจะขยับไปถึงเรื่องหรือหัวข้ออื่นๆ ต่อไปนะครับ   โดยเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นผมได้เล่าให้เพื่อนๆ … Read More

ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หลังจากที่เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้ทำการอธิบายคำถามที่ว่า เพราะเหตุใดในการก่อสร้างโครงสร้างฐานรากของโครงสร้างประเภทรั้ว เราจึงมักที่จะเห็นวิศวกรนั้นทำการออกแบบให้ใช้เสาเข็มนั้นวางตัวเป็นแบบคู่ หรือ ไม่ก็เป็นแบบเสาเข็มเดี่ยวสลับกันระหว่างเสาเข็มคู่ ?   ซึ่งหากทำการตั้งคำถามว่าเราสามารถที่จะใช้โครงสร้างเข็มเดี่ยวในการทำเสาเข็มรับรั้วได้หรือไม่ ผมก็ได้ตอบไปว่า ได้ นะครับ … Read More

1 10 11 12 13 14 15 16 33