การคำนวณหาค่าความแข็งแกร่งของดินในรูปของค่าสปริงยืดหยุ่นของฐานรากแบบตื้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ สืบเนื่องจากโพสต์ในสัปดาห์ก่อนหน้านี้ที่ผมได้ทำการอธิบายและยกตัวอย่างถึงวิธีในการคำนวณหาค่าความแข็งแกร่งหรือว่าสติฟเนสในการต้านทานแรงกระทำทางด้านข้างของดินหรือว่าค่า Ksh ไปซึ่งผลก็ปรากฏว่าค่า Ksh(x) สำหรับพื้นที่รับผิดชอบแต่ละสีนั้นจะมีค่าเท่ากับ   Ksh(x) (GREEN) =3,102 T/M   … Read More

การคำนวณหาค่าความแข็งแกร่งของดินในรูปแบบของสปริงยืดหยุ่น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันเสาร์แบบนี้ โดยสืบเนื่องจากในช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นผมได้ทำการพูดถึงเรื่องการคำนวณหาค่าความแข็งแกร่งของดินในรูปแบบของสปริงยืดหยุ่นทั้งค่า Ksv และ Ksh สำหรับใช้ในการวิเคราะห์โครงสร้างฐานรากให้แก่เพื่อนๆ ไปแล้ว ดังนั้นในวันนี้ผมเลยคิดว่าน่าจะลองโพสต์ถามเพื่อนๆ ดูเพื่อที่จะตรวจสอบดูสิว่าเพื่อนๆ จะมีความเข้าใจในเรื่องๆ นี้มากน้อยเพียงใดและเหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ หากมีฐานรากที่มีขนาดความกว้าง ยาว และ ลึก เท่ากับ … Read More

ขั้นตอนในการคำนวณหาค่าความแข็งแกร่งของดินในรูปของค่าสปริงยืดหยุ่นของฐานรากแบบตื้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เพื่อให้เนื้อหาของเรานั้นมีความต่อเนื่องจากเมื่อสองสัปดาห์ก่อน วันนี้ผมก็จะมาทำการยกตัวอย่างในการคำนวณหาค่า Ksv นี้ให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกัน เรามาเริ่มต้นดูรายละเอียดของปัญหาข้อนี้กันเลยดีกว่านะครับ   ผมมีฐานรากร่วมที่มีขนาดความยาวเท่ากับ 7.50 เมตร ความกว้างเท่ากับ … Read More

ความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างโครงหลังคาโครงข้อหมุน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ   วันนี้ผมจะมาพูดและให้ความรู้ถึงรายละเอียดต่างๆ และส่วนประกอบหลักและส่วนประกอบรองของโครงสร้างโครงหลังคาที่เป็นโครงข้อหมุนหรือว่า TRUSS STRUCTURE นั่นเอง โดยหากเพื่อนๆ ดูจากในรูปของโพสต์ๆ นี้เพื่อนๆ ก็จะสามารถเห็นตัวอย่างของโครงสร้างโครงข้อหมุนจริงๆ ซึ่งก็จะประกอบไปด้วยสองส่วนหลักๆ … Read More

ปัญหาคำถามเกี่ยวกับค่า DesignRatio

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน สืบเนื่องจากเมื่อวานนี้ได้มีคำถามของน้องแฟนเพจท่านหนึ่งที่ได้สอบถามเข้ามาที่เพจเกี่ยวกับ ความรู้ที่ผมเคยได้โพสต์ไปก่อนหน้านี้ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องของ “DESIGN RATIO” ว่าคืออะไร ? ผมเห็นว่าน้องแฟนเพจท่านนี้มีความสนใจและสอบถามคำถามที่มีความน่าสนใจเข้ามา จึงคิดว่าวันนี้จะขออนุญาตใช้พื้นที่ตรงนี้ในการอธิบายและยกตัวอย่างให้เห็นถึงประเด็นๆ นี้ให้แก่น้องท่านนี้และแฟนเพจทุกๆ คนด้วยนะครับ   เริ่มต้นจากความหมายของคำว่า DESIGN RATIO กันก่อนเลย คำๆ นี้มีความหมายง่ายๆ ว่า … Read More

การคำนวณหาค่าความแข็งแกร่งของดิน ในรูปของค่าสปริงยืดหยุ่นของฐานรากแบบตื้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หลังจากที่ผมได้พูดและอธิบายถึงเรื่องค่าโมดูลัสยืดหยุ่นของดินหรือว่าค่า Esoil จบไปก่อนหน้านี้แล้ว อีกทั้งเรายังออกนอกเรื่องไปอีกสองสัปดาห์ด้วย ผมคิดว่าวันนี้เราน่าจะกลับเข้าสู่เรื่องที่ผมกำลังอธิบายค้างเพื่อนๆ อยู่จะดีกว่านั่นก็คือ การคำนวณหาค่าความแข็งแกร่งของดินในรูปของค่าสปริงยืดหยุ่นของฐานรากแบบตื้น ซึ่งพวกเราทุกคนก็คงจะทราบกันดีอยู่แล้วว่าสำหรับฐานรากประเภทนี้ตัวโครงสร้างของฐานรากเองนั้นจะมีความยืดหยุ่นตัวหรือพูดง่ายๆ ก็คือ สามารถที่จะมีการเคลื่อนตัวได้   … Read More

การเสริมเหล็กรับแรงเฉือนภายในคานประเภทต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ สืบเนื่องจากประเด็นเมื่อสองสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นผมได้ทำการตอบเพื่อนวิศวกรของผมท่านหนึ่งเกี่ยวกับคำถามที่เพื่อนท่านนี้ได้สอบถามผมเข้ามาเกี่ยวกับเรื่องตำแหน่งที่ควรจะวาง TIED BEAM ว่าควรที่จะอยู่ที่บริเวณใดจึงจะเหมาะสมซึ่งผมก็ได้ตอบคำถามข้อนี้ให้ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ปรากฏว่าผมก็ยังได้รับคำถามต่อเนื่องจากคำถามข้อนี้จากเพื่อนวิศวกรท่านเดิมมาอีกว่า   “ขอสอบถามเกี่ยวกับเสาที่ตั้งอยู่บริเวณปลายคานในกรณีนี้เหล็กเสริมรับแรงเฉือนจะมีรายละเอียดเหมือนหูช้างไหมครับ (คือใส่เหล็กรับแรงเฉือนตามแนวนอน) ใช่หรือไม่ครับ ?”   จริงๆ คำถามข้อนี้เป็นคำถามที่ดี ต้องขอชมเชยคนถามด้วยที่ได้ถามคำถามที่ประโยชน์มากๆ … Read More

ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากมีคำถามฝากเข้ามาจากเพื่อนของผมท่านหนึ่งซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับงานดิน ผมจึงจำเป็นที่จะต้องจะขออนุญาตใช้พื้นที่ในการโพสต์ของวันนี้ในการตอบคำถามข้อนี้ โดยที่ใจความของปัญหานั้นมีอยู่ว่า   “หากว่าผมได้ทำการทดสอบชั้นดินในสถานที่ก่อสร้างเป็นที่เรียบร้อยแล้วแต่ผลกลับปรากฏว่า ลักษณะของชั้นดินส่วนใหญ่ในสถานที่ก่อสร้างของผมนั้นจะเป็นดินเหนียวอ่อนที่ค่อนข้างที่จะมีคุณภาพทางด้านกำลังที่ค่อนข้างแย่ พูดง่ายๆ ก็คือดินจะมีกำลังความสามารถในการรับน้ำหนักที่ค่อนข้างจะต่ำมากๆ เลย ผมเลยอยากจะรบกวนขอคำชี้แนะหน่อยได้มั้ยครับว่าผมควรจะทำเช่นใดดี ?” … Read More

วิธีในการคำนวณหาค่า Esoil

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ อย่างที่ผมได้เรียนให้เพื่อนๆ ทุกคนได้ทราบไปตั้งแต่ในสัปดาห์ที่แล้วว่าในสัปดาห์นี้ผมคงจะมีความจำเป็นที่จะต้องขออนุญาตทำการพูดและรวบรัดให้จบเกี่ยวกับเรื่องวิธีในการคำนวณหาค่า Esoil นี้แล้วเพราะหากว่าผมจะต้องพูดรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องๆ นี้ให้ครอบคลุมถึงเนื้อหาทั้งหมดจริงๆ ก็อาจที่จะต้องใช้เวลาเนิ่นนานมากจนเกินไป ยังไงผมก็คงจะขอทำการอธิบายแค่เพียงสังเขป ทั้งนี้เพื่อให้เพื่อนๆ นั้นสามารถที่จะมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องๆ นี้ในระดับหนึ่งและสามารถที่จะนำเอาองค์ความรู้นี้ไปประยุกต์ใช้งานได้ในเบื้องต้นครับ   … Read More

ปัญหาของการที่ดินเกิดการกัดเซาะหายไปในการทำงานก่อสร้างเสาเข็ม ที่มีกลไกการรับแรงเป็นแบบเสาเข็มแรงฝืด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่ผมจะมายกตัวอย่างถึงปัญหางานวิศวกรรมโครงสร้างที่พบได้จริงๆ ในชีวิตประจำวันของเราๆ ซึ่งในวันนี้ผมจะหยิบยกเอากรณีของปัญหาต่อเนื่องจากปัญหาในสัปดาห์ที่แล้วนะครับ   โดยที่ประเด็นในวันนี้จะมีอยู่ด้วยกัน 2 ประเด็นหลักๆ ด้วยกัน   ประเด็นแรก เมื่อเกิดเหตุการณ์เหมือนเช่นในรูปนั่นก็คือ ดินนั้นเกิดการทรุดตัวลงไปมากจนทำให้เสาเข็มที่อยู่ใต้ฐานรากนั้นลอยโผล่ขึ้นมาจนลอยตัวอยู่ระดับเหนือดินที่ทรุดตัวลงไป จนในที่สุดก็จะไม่มีดินที่จะคอยทำหน้าที่ในการประคองพื้นที่รอบๆ ทางด้านข้างของตัวโครงสร้างเสาเข็มอีกต่อไป … Read More

1 7 8 9 10 11 12 13 33