ค่าโมดูลัสของแรงเฉือน (SHEAR MODULUS) หรือค่าโมดูลัสของความคงรูป (MODULUS OF RIGIDITY)

  ref : https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1301145146598274:0   สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาตอบคำถามให้แก่เพื่อนของผมท่านหนึ่งบนเฟซบุ้คแห่งนี้ที่เพื่อนท่านนี้ได้หลังไมค์มาให้ผมช่วยอธิบายถึงค่าโมดูลัสของแรงเฉือน (SHEAR MODULUS) หรือค่าโมดูลัสของความคงรูป (MODULUS OF RIGIDITY) ที่เรานิยมเขียนแทนด้วยค่า G นั่นเองครับ ค่าๆ นี้ถือเป็นปริมาณที่มีประโยชน์มากค่าหนึ่งในทางกลสาสตร์ของวัสดุ ซึ่งชื่อของมันก็ชัดเจนอยู่แล้วนะครับว่าหากวัสดุใดที่มีคุณสมบัติค่าๆ … Read More

การออกแบบเสาเข็มสำหรับกรณีที่โครงสร้างเสาเข็มที่ใช้รับ นน นั้นไม่ได้ฝังอยู่ในดินทั้งหมด

  ref :  https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1302631393116316   สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกท่าน วันนี้ผมจะขอมาตอบคำถามของเพื่อนวิศวกรท่านหนึ่งที่หลังไมค์มาถามผมเกี่ยวกับการออกแบบเสาเข็มสำหรับกรณีที่โครงสร้างเสาเข็มที่ใช้รับ นน นั้นไม่ได้ฝังอยู่ในดินทั้งหมดให้แก่เพื่อนท่านนี้ และ เห็นว่าอาจมีประโยชน์จึงนำมาเล่าและขยายความให้แก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านได้ที่บกันด้วยนะครับ ขอ ยก ตย ของกรณีปัญหาแบบนี้ก่อนละกันนะครับ เช่น กรณีฐานรากของงานสะพานแบบเสาตับ (PILE … Read More

การวิบัติแบบ PROGRESSIVE COLLAPSE

ref :  https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1303325296380259   สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกท่าน วันนี้หัวข้อที่เราจะมาพูดคุยกันจะเกี่ยวข้องกับเรื่อง PROGRESSIVE COLLAPSE นะครับ การวิบัติแบบ PROGRESSIVE COLLAPSE หรือ บางครั้งเรานิยมเรียกว่าการวิบัติแบบ PANCAKE MECHANISM หรือ กลไลขนมชั้น ก็คือ การวิบัติแบบต่อเนื่องเป็นลูกโซ่นั่นเอง … Read More

การออกแบบหน้าตัดโครงสร้าง คสล ที่ต้องรับแรงดัดโดยวิธีหน่วยแรงใช้งาน

  ref : https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1306029162776539:0   สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาขอยก ตย ความรู้พื้นฐานที่เราควรจะทราบที่มาที่ไปของสมการที่เราใช้งานกันบ่อยๆ แต่อาจจะหลงลืมไปกันไปบ้างต่อนะครับ หลังจากเมื่อ 2 วันที่ผ่านมาผมยก ตย ถึงสมการทางด้านกลศาสตร์ของวัสดุไปบ้างแล้ว วันนี้ผมจะขอยก ตย ถึงสมการทางด้านการออกแบบบ้างนะครับ สมการที่เกี่ยวข้องกับงานออกแบบที่ผมต้องการจะหยิบยกมาในวันนี้เกี่ยวข้องกับการออกแบบหน้าตัดโครงสร้าง คสล … Read More

เหตุใดทฤษฎีพื้นฐานของการออกแบบหน้าตัดคาน คสล ด้วยวิธีหน่วยแรงใช้งานจึงมีความสำคัญ

    ref :  https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1306466159399506   สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ คน วันนี้ผมจะมาต่อถึงเนื้อหาที่ยังค้างทุกๆ คนนะครับ นั่นก็คือ เหตุใดทฤษฎีพื้นฐานของการออกแบบหน้าตัดคาน คสล ด้วยวิธีหน่วยแรงใช้งานจึงมีความสำคัญนะครับ ก่อนอื่นผมจะขอกล่าวถึงทฤษฎีกับอีก 1 สมการที่มีความสำคัญสมการหนึ่งก่อนครับ ขอให้ดูรูปที่ 1 ซึ่งจะแสดงให้เห็นถึงสภาวะความเค้นเมื่อเราทำการวิเคราะห์หน้าตัดคาน … Read More

การใส่เหล็กเสริมรับแรงเฉือนแนวดิ่งและเหล็กเสริมทแยงรอบช่องเปิด

  ref : https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1307391802640275   นายช่างปุ๊มีความรู้พื้นฐานมาเล่าให้ฟังครับ “Sleeve หรือ ช่องเปิด” ในคานคอนกรีตทำอย่างไรมาดูกันครับ การใส่เหล็กเสริมรับแรงเฉือนแนวดิ่งและเหล็กเสริมทแยงรอบช่องเปิด มีส่วนสําคัญอย่างมากในการเพิ่มกําลังต้านทานแรงเฉือนในคานคอนกรีตเสริมเหล็กที่มีช่องเปิด การใส่แผ่นเหล็กเสริมบางรอบช่องเปิดและการใส่เหล็กเสริมแนวดิ่งบริเวณคอร์ดบนและคอร์ดล่าง มีส่วนช่วยเพิ่มกําลังต้านทานแรงเฉือนของคาน Cr.ผลงานวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์นเรฏฐ์ พันธราธร —————— ผู้เขียนบทความสั้น นายช่างปุ๊ BSP-Bhumisiam … Read More

การประมาณค่าหน้าตัดเหล็กเสริมในโครงสร้าง

  ref : https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1312171025495686   สวัสดีครับเพื่อนๆ ที่รักทุกท่าน สืบเนื่องจากวันนี้ได้คุยกับรุ่นน้องวิศวกรท่านหนึ่ง น้องท่านนี้ได้อธิบายกับผมถึงเรื่องการทำงานว่าเวลาเค้าทำการออกแบบเพื่อที่จะประมูลงานต่างๆ ของบริษัทเค้ามักจะทำการออกแบบไม่ทัน ผมจึงได้แนะนำวิธีการประมาณค่าหน้าตัดเหล็กเสริมในโครงสร้างให้แก่เค้าไป และ เห็นว่าน่าสนใจจึงคิดจะนำเกร็ดเหล่านี้มาแนะนำเพื่อนๆ ในวันนี้ด้วยนะครับ วันนี้ผมจะขอแนะนำวิธีการออกแบบหน้าตัดเหล็กเสริมในเสาโดยวิธีการประมาณค่านะครับ ขั้นแรกเราต้องวิเคราะห์โครงสร้างกันก่อนเพื่อที่จะหาค่า แรงตั้งฉากประลัย และ แรงโมเมนต์ดัดประลัย ของหน้าตัดออกมาเสียก่อน … Read More

“การวางเหล็กเสริมสำหรับพื้นวางบนดิน” วางอย่างไรมาดูกันครับ

  ref :  https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1301277676585021   นายช่างปุ๊มีความรู้พื้นฐานมาเล่าให้ฟังครับ “การวางเหล็กเสริมสำหรับพื้นวางบนดิน” วางอย่างไรมาดูกันครับ พื้นวางบนดิน จะถ่ายแรงกดหรืออัดกระจายลงสู่พื้นดินแบบสม่ำเสมอ ไม่มีแรงดึงเกิดขึ้นจึงไม่ต้องใส่เหล็กเสริม (ยกเว้นดินด้านล่างเป็นโพรงซึ่งเกิดขึ้นได้จากธรรมชาติ) แล้วทำไมต้องเสริมเหล็ก? 1.กรณีอุณหภูมิมีเปลี่ยนแปลงสูง ทำให้คอนกรีตเกิดยืดและหดตัวรุนแรง ต้องวางเหล็กเสริมผูกตะแกรงด้านบน เพื่อป้องกันการแตกร้าว (ด้านผิวล่างที่ติดกับดินอุณหภูมิจะค่อนข้างคงที่ไม่จำเป็นต้องใส่เหล็กเสริม) 2.กรณีดินด้านล่างเป็นโพรง ทำให้เกิดการแอ่นตัวของแผ่นคอนกรีต … Read More

การออกแบบให้จุดต่อของฐานราก F3 ให้เป็นแบบ PINNED นั้นมีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด

  ref : https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1348732695172852   สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน สืบเนื่องจากโพสต์ของผมเมื่อวันก่อนเกี่ยวกับเรื่องทิศทางการวางเสาเข็มในฐานราก F3 และ มีประเด็นๆ หนึ่งที่มีเพื่อนวิศวกรท่านหนึ่งได้มาสอบถามผมเกี่ยวกับเรื่องความเป็นไปได้ในการออกแบบให้จุดต่อของฐานราก F3 ให้เป็นแบบ PINNED นั้นมีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด ซึ่งผมก็ได้ตอบเค้าในเบื้องต้นไปบ้างแล้วน่ะครับ ผมจึงเห็นว่าน่าจะมีประโยขน์หากผมทำการอธิบายประเด็นนี้เพิ่มเติมสักนิด ก่อนอื่นผมขอบอกก่อนนะครับว่าประเด็นที่ผมจะพูดถึงต่อไปนี้ ผมถือว่าเป็นการที่พวกเราเสวนา … Read More

หลักการหนึ่งในการวางเสาเข็มเจาะ (การวาง DOWEL BAR)

สวัสดีครับแฟนเพจทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งในเย็นวันศุกร์สุดท้ายของเดือนกันยายนนะครับ วันนี้แอดมินตั้งใจจะมาเล่าถึงหลักการหนึ่งในการวางเสาเข็มเจาะมาฝากเพื่อนๆ ทุกๆ ท่านกันนะครับ หลักการที่ว่านั่นก็คือ การวาง DOWEL BAR ที่บริเวณหัวของเสาเข็ม นั่นเองครับ ก่อนจะลงลึกในรายละเอียดต้องถามเพื่อนๆ ทุกๆ ท่านก่อนว่า DOWEL BAR คืออะไร ? DOWEL … Read More

1 3 4 5 6 7