สภาพของเสาเข็มแบบนี้ถือว่าเป็นที่ยอมรับได้หรือไม่

สภาพของเสาเข็มแบบนี้ถือว่าเป็นที่ยอมรับได้หรือไม่ รูปที่ 1 เป็น ตัวอย่าง ของกรณีนี้กันนะครับ เพื่อนๆ จะสามารถสังเกตเห็นได้ว่ามีช่องว่างเล็กๆ ที่บริเวณรอยต่อระหว่างท่อนเสาเข็มในรูปได้ด้วยตาเปล่าเลยนะครับ ก่อนอื่นผมขอเริ่มต้นอธิบายกับเพื่อนๆ แบบนี้ก็แล้วกันนะครับ เพื่อนๆ น่าจะทราบกันดีอยู่แล้วนะครับว่าวัสดุหลักที่ถูกนำมาใช้ผลิตตัวโครงสร้างเสาเข็มนั้น คือ คอนกรีต ซึ่งคุณสมบัติประจำตัวอย่างหนึ่งของคอนกรีตที่เราจะพบเห็นได้ในทุกๆ ที่เลยก็คือ การหดตัว หรือ ที่เราเรียกกันว่า … Read More

โครงการคลองลัดโพธิ์

โครงการคลองลัดโพธิ์ คลองลัดโพธิ์ เป็นชื่อคลองเดิม บริเวณตำบลทรงคนอง อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เดิมมีลักษณะตื้นเขิน ต่อมาได้จัดสร้างเป็นโครงการตามแนวพระราชดำริ เป็นการบริหารจัดการน้ำเพื่อแก้ปัญหาน้ำท่วมกรุงเทพมหานคร โดยยึดหลักการ “เบี่ยงน้ำ” ภายใต้การดูแลของหน่วยงานหลัก 3 หน่วยงานคือ กรมชลประทาน กรุงเทพมหานคร และ คณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ มีหลักการคือ จากสภาพของแม่น้ำเจ้าพระยาเดิมที่มีลักษณะไหลวนคดเคี้ยวบริเวณรอบพื้นที่บริเวณบางกระเจ้านั้นมีความยาวถึง … Read More

เทคนิคในการวิเคราะห์และแก้ไขงานวิศวกรรมฐานรากเดิม

เทคนิคในการวิเคราะห์และแก้ไขงานวิศวกรรมฐานรากเดิม สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาแชร์ความรู้เกี่ยวกับเทคนิคในการ วิเคราะห์ และ แก้ไข งานวิศวกรรมฐานรากจากงานในอดีตของผมเองให้แก่เพื่อนได้รับทราบกันนะครับ เผื่อว่าจะมีประโยชน์ต่อเพื่อนๆ นะครับ ก่อนอื่นเรามาดูรูปประกอบกันก่อนนะครับ ในรูปปัญหาที่ผมไปพบเจอ คือ ฐานรากใช้ระบบ เสาเข็มเหล็ก ร่วมกันกับ เสาเข็มคอนกรีต แถมฐานรากยังเป็นฐานรากลอยอีกด้วย โดยที่เราไม่สามารถทำการตัดหัวเข็มลงไปได้เนื่องจากข้อจำกัดทางด้านงานสถาปัตยกรรมและการทำงานที่หน้างานนะครับ ปล … Read More

ระหว่าง FORCE METHOD กับ DISPLACEMENT METHOD แล้ววิธีการใดจะน่าสนใจและหากเรียนรู้แล้วจะได้ประโยชน์มากกว่ากัน

ระหว่าง FORCE METHOD กับ DISPLACEMENT METHOD แล้ววิธีการใดจะน่าสนใจและหากเรียนรู้แล้วจะได้ประโยชน์มากกว่ากัน เราสามารถที่จะทำการเปรียบเทียบวิธีการวิเคราะห์โครงสร้างระหว่าง FORCE METHOD และ DISPLACEMENT METHOD ได้จาก (1) ตัวแปรตั้งต้นที่เราไม่ทราบค่า (2) สมการที่ใช้ในการหาค่าตัวแปรตั้งต้นนั้นๆ หากเราพูดถึง FORCE … Read More

ระบบโครงแกงแนง หรือ BRACED FRAME SYSTEM

ระบบโครงแกงแนง หรือ BRACED FRAME SYSTEM โดยระบบๆ นี้ก็คือ การนำเจ้าโครงแกงแนง หรือ โครงค้ำยัน หรือ ที่เรานิยมเรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า BRACING นั้นมาช่วยในการค้ำยันตัวโครงสร้างเพื่อให้โครงสร้างของเรานั้นมี ความแข็งแรง และ มีเสถียรภาพ ที่สูงยิ่งขึ้น ดังนั้นเราสามารถนำระบบ BRACING … Read More

ตำแหน่งของระยะวิกฤติสำหรับการออกแบบแรงเฉือนในคาน

ตำแหน่งของระยะวิกฤติสำหรับการออกแบบแรงเฉือนในคาน   ขอยกตัวอย่างคานคอนกรีตเสริมเหล็กอันหนึ่งที่มีการวางตัวอย่างง่าย (SIMPLY SUPPORTED) ที่มีช่วงความยาวเท่ากับ 8 ม คานๆ นี้มีขนาดความลึกเท่ากับ 0.70 ม ทำให้มีระยะความลึกประสิทธิผล (d) โดยประมาณเท่ากับ 0.65 ม โดยที่คานๆ นี้รับ นน … Read More

เมื่อเสาเข็มเกิดการเยื้องศูนย์ไปแล้ว ตัวโครงสร้างของเสาเข็มของเราจะเกิดการวิบัติเลยหรือไม่ ?

เมื่อเสาเข็มเกิดการเยื้องศูนย์ไปแล้ว ตัวโครงสร้างของเสาเข็มของเราจะเกิดการวิบัติเลยหรือไม่ ? สาเหตุที่ผมนำปัญหาข้อนี้มาตอบเพราะผมค่อนข้างที่จะเข้าใจผู้ถามดีนะครับว่ามีความวิตกกังวลประการใดอยู่ในใจ และ ผมถือว่าคำถามๆ นี้เป็นคำถามที่น่าสนใจด้วยครับ จึงเลือกนำมาตอบในวันนี้นะครับ โดยที่ผมอยากที่จะขออนุญาตทำการตอบเพื่อนวิศวกรท่านนี้ดังนี้นะครับ เมื่อใดที่เราทำการตรวจสอบแล้วพบว่าพจน์ที่เป็นตัวหารในสมการหาค่าแรงปฏิกิริยาในเสาเข็มกรณีที่เสาเข็มไม่มีคุณสมบัติทางด้านความสมมาตรออกมามีค่าเท่ากับ ศูนย์ หรือ Ix Iy – Ixy^(2) = 0 ซึ่งการที่ผลการคำนวณในพจน์ๆ ออกมาเป็นเช่นนี้ก็จะเป็นการบ่งบอกกับเราว่า … Read More

ประเภท และ คุณสมบัติหลักๆ ของยางมะตอย

สวัสดีครับ วันนี้ Mr.เสาเข็ม จะมาต่อยอดถึงสาระและความรู้จากเมื่อวานกันนะครับ วันนี้จะเป็นเรื่องของประเภท และ คุณสมบัติหลักๆ ของยางมะตอย ยางมะตอยจะเป็นกากที่เหลือจากการกลั่นน้ำมันดิบ ทำให้มีลักษณะเหนียวหนืด ไม่เหมือนกับน้ำมันเบนซิน หรือ ดีเซล ที่ได้จากการกลั่นเช่นกัน โดยเนื่องจากการที่กระบวนการในการผลิตยางมะตอยนั้นได้มาจากการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม โดยที่ยางมะตอยจะเป็นส่วนหนึ่งของน้ำมันดิบที่มี นน มากที่สุด และ จะถูกนำไปผ่านกระบวนการๆ … Read More

ยางมะตอย (ASPHALT)

สวัสดีครับ วันนี้ ก็มาพบกับ Mr.เสาเข็ม อีกเช่นเคย สำหรับช่วงบ่ายๆ แบบนี้ Mr.เสาเข็ม ได้นำความรู้เกี่ยวกับการก่อสร้างมาฝากกันนะครับ สำหรับวันนี้เป็นเรื่องของ ยางมะตอย หรือ ASPHALT ครับ วัสดุที่มีชื่อว่า “ยางมะตอย” จะมีลักษณะเป็นยางเหนียวสีดำที่เราเอามาราดเพื่อที่จะทำถนนให้รถวิ่ง ซึ่งวัสดุนี้ได้มาจากการกลั่นน้ำมันดิบใน หอกลั่นลำดับส่วนในอุตสาหกรรมปิโตรเลียม โดยที่ยางมะตอยจะเป็นกากที่เหลือจากการกลั่นน้ำมันดิบ ทำให้มีลักษณะเหนียวหนืด … Read More

การวิเคราะห์แรงกระทำทางด้านข้างแก่โครงสร้างของอาคารอันเนื่องมาจากแรงลม

สวัสดีวันเสาร์ช่วงเย็นๆ แบบนี้นะครับ วันนี้ก็มาพบกับ Mr.เสาเข็ม กันอีกแล้ว วันนี้ก็มีความรู้ดีดีเกี่ยวกับการก่อสร้างมาฝากอีกเช่นเคย วันนี้จะเป็นเรื่อง การวิเคราะห์แรงกระทำทางด้านข้างแก่โครงสร้างของอาคารอันเนื่องมาจากแรงลม เราสามารถที่จะจำแนกวิธีในการคำนวณแรงลมที่กระทำต่ออาคารออกได้เป็น 3 วิธีใหญ่ๆ คือ (1) วิธีการอย่างง่าย (SIMPLIFIED PROCEDURE) (2) วิธีการอย่างละเอียด (DETAILED PROCEDURE) (3) … Read More

1 2 3 4 5 6 7