ตารางแสดงค่าความลึกของหลุมเจาะที่ควรใช้ในการทดสอบดินที่มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับขนาดและความสูงของอาคาร

ตารางแสดงค่าความลึกของหลุมเจาะที่ควรใช้ในการทดสอบดินที่มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับขนาดและความสูงของอาคาร หากขึ้นชื่อว่าเป็นวิศวกรที่ดี เรามักที่จะต้องเป็นนักปฎิบัติงานที่ต้องทำงานภายใต้มาตรฐานการทำงานที่ดีและมีความเชื่อถือได้ ทั้งนี้เพราะเมื่อต้องนำหลักการหนึ่งหลักการใดจากมาตรฐานเหล่านี้ไปปฎิบัติใช้ในการทำงานจริงๆ ได้เราก็ต้องสามารถที่จะอ้างอิงไปยังมาตรฐานนั้นๆ ได้ด้วยนะครับ ซึ่งผมถือว่าส่วนหนึ่งของคำถามข้อนี้นั้นเป็นความบกพร่องของผมเองนะครับที่ไม่ได้ทำการกล่าวอ้างอิงถึงแหล่งที่มาของข้อมูลๆ นี้นะครับ ยังไงผมจะขออนุญาตเก็บประเด็นนี้เอาไว้เพื่อที่จะดำเนินการแก้ไขในการโพสต์ครั้งต่อๆ ไปนะครับ เอาเป็นว่าผมขออนุญาตตอบคำถามข้อนี้เลยก็แล้วกันนะครับ ข้อมูลที่ผมได้ให้คำแนะนำไปกับเพื่อนๆ ไปนั้นมีการอ้างอิงมาจากเอกสารหนังสือ แนวทางการตรวจสอบชั้นดินเพื่องานฐานราก ในหน้าที่ 13 ถึง 14 ซึ่งได้จัดทำโดยวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย โดยเป็นเอกสารที่ถูกพิมพ์ไปเมื่อปี … Read More

ค่าสัดส่วนความปลอดภัย หรือ SAFETY FACTOR

ค่าสัดส่วนความปลอดภัย หรือ SAFETY FACTOR เวลาที่เราทำการออกแบบค่า นน บรรทุกปลอดภัยของเสาเข็มนั้น ค่า SAFETY FACTOR ที่เรานิยมใช้โดยทั่วๆ ไปนั้นเท่ากับ 2.5 หรือ น้อยที่สุดเท่ากับ 2 นั้น ทางผู้ออกแบบเค้ามีเกณฑ์อย่างไรที่ใช้ในการประเมินและพิจารณาให้ค่าๆ นี้ออกมาเป็นดังนี้ครับ ? … Read More

รอยร้าว ที่ไม่อันตราย

รอยร้าว ที่ไม่อันตราย รอยร้าว ทางแนวดิ่ง รอยร้าว ทางแนวนอน รอยร้าว แตกลายงาตามผนัง ก่ออิฐฉาบปูน ของบ้าน และอาคารทั่วไป หากพบที่ผนัง ก็ไม่ต้องกังวล ว่าจะเกิดการทรุดตัวของอาคาร รอยร้าว เหล่านี้ เกิดจาก ผนังอาคาร มีเสาเอ็นน้อยเกินไป มีแรงกดทับ … Read More

ขนาดความลึกที่เหมาะสมของโครงถักเหล็ก หรือ STEEL TRUSS

ขนาดความลึกที่เหมาะสมของโครงถักเหล็ก หรือ STEEL TRUSS ประเภทของโครงถักแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบหลักๆ คือ (1) โครงถักแบบท้องเรียบ (ความลึกเท่ากันตลอดทั้งความยาว) (2) โครงถักแบบจั่ว (ชนิดมีความลึกที่ปลายด้วย) (3) โครงถักแบบจั่ว (ชนิดไม่มีความลึกที่ปลายเลย) หากเราให้ L เป็นความยาวช่วงทั้งหมดระหว่างเสาถึงเสาที่รองรับตัวโครงถัก … Read More

ประเภทของแผ่นพื้นสำเร็จรูปแบบคอนกรีตอัดแรง

ประเภทของแผ่นพื้นสำเร็จรูปแบบคอนกรีตอัดแรง แผ่นพื้นสำเร็จรูปแบบคอนกรีตอัดแรงสามารถแบ่งออกได้เป็นอีก 2 ชนิดหลักๆ คือ แผ่นพื้นสำเร็จรูปแบบ คอร ท้องเรียบตัน (PC PLANK SLAB) และ แผ่นพื้นสำเร็จรูปแบบ คอร ท้องเรียบกลวง (PC HOLLOW CORE SLAB) จริงๆ … Read More

ข้อมูลและตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับการเจาะสำรวจชั้นดินในพื้นที่ต่างจังหวัด

ข้อมูลและตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับการเจาะสำรวจชั้นดินในพื้นที่ต่างจังหวัด เริ่มต้นดูรูปที่แสดงตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับการเจาะสำรวจชั้นดินในพื้นที่ต่างจังหวัดกันก่อนนะครับ หากเพื่อนๆ สังเกตดูดีๆ จะพบว่าช่องที่แสดงค่า ความลึกของหลุมเจาะ ในตารางๆ นี้จะมีความแตกต่างออกไปจากตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับการเจาะสำรวจชั้นดินในเขตพื้นที่ กทม และ ปริมณฑล ที่เคยนำมาเล่าให้ฟังก่อนหน้านี้นะครับ โดยที่ในช่องๆ นี้ของตารางที่แสดงนี้จะไมได้แสดงค่าความลึกของหลุมเจาะตรงๆ แต่ กลับแสดงว่าระยะนี้จะมีค่าเท่ากับระยะความลึกที่เมื่อทำการทดสอบ SPT เพื่อที่จะหาค่า N VALUE … Read More

หากผลการทดสอบเสาเข็มด้วยกรรมวิธี DYANAMIC LOAD TEST แล้วค่าระยะการทรุดตัวที่ออกมามีค่ามากกว่าค่าที่ยอมให้ซึ่งเท่ากับ 25 mm จะมีวิธีการแก้ปัญหาในลักษณะแบบนี้ได้อย่างไร ?

หากผลการทดสอบเสาเข็มด้วยกรรมวิธี DYANAMIC LOAD TEST แล้วค่าระยะการทรุดตัวที่ออกมามีค่ามากกว่าค่าที่ยอมให้ซึ่งเท่ากับ 25 mm จะมีวิธีการแก้ปัญหาในลักษณะแบบนี้ได้อย่างไร ? ประการแรก ควรที่จะตรวจสอบดูก่อนนะครับว่า จำนวนเสาเข็มที่เราทำการทดสอบทั้งหมดนั้นมีกี่ต้น และ มีกี่ต้นที่ให้ผลออกมาในทำนองนี้ เพราะ จากประสบการณ์ของผมการทดสอบด้วยวิธี DYNAMIC LOAD TEST นั้นถือว่าเป็นวิธีการทดสอบที่ค่อนข้างที่จะมี … Read More

ผลจากการทดสอบด้วยวิธี PILE DYNAMIC LOAD TEST ซึ่งได้จากการทดสอบเสาเข็มจริงๆ ณ หน้างานนะครับ

ผลจากการทดสอบด้วยวิธี PILE DYNAMIC LOAD TEST ซึ่งได้จากการทดสอบเสาเข็มจริงๆ ณ หน้างานนะครับ จากแผนภูมินี้เป็นเพียงแผนภูมิหนึ่งที่เป็นผลที่ได้จากการทดสอบเสาเข็มโดยวิธี DYNAMIC LOAD TEST นะครับ ซึ่งก็คือ แผนภูมิแสดงค่าความสัมพันธ์ระหว่างค่า นน บรรทุกที่เสาเข็มจะสามารถรับได้ ทางแกน X และ … Read More

เหล็กโอบรัด (CONFINED STEEL)

เหล็กโอบรัด (CONFINED STEEL) เนื่องจากในฐานราก F1 นั้นพฤติกรรมต่างๆ ของฐานรากจะเกิดไม่ซับซ้อนเหมือนฐานรากประเภทอื่นๆ ผมจึงไม่ได้นำเสนอไว้ในโพสต์ก่อนหน้านี้ แต่ ลักษณะของ F1 นี้จะมีลักษณะเด่นในตัวเองแตกต่างออกไปจากประเภทของฐานรากชนิดอื่นๆ อยู่หลายประการ เช่น ผลของการเยื้องศูนย์ของเสาเข็มในฐานราก F1 จะส่งผลทางด้านกำลังและเสถียรภาพของตัวฐานรากและตอม่อที่มากกว่าฐานรากประเภทอื่นๆ (โดยในประเด็นนี้ผมได้นำเสนอไปแล้วในการโพสต์ที่ผ่านมา) และ เหล็กเสริมที่จะทำหน้าที่เด่นๆ … Read More

1 2 3 4 5 6 7