การจัดเสาเข็มและระยะห่างของเสาเข็ม (เสาเข็มไมโครไพล์) สปันไมโครไพล์

การจัดเสาเข็มและระยะห่างของเสาเข็ม 1. เสาเข็มใต้ฐานรากจะต้องจัดเรียงสมํ่าเสมอเหมือนกันทุกด้าน 2. สําหรับเสาเข็ม End Bearing Piles ระยะห่างระหว่างศูนย์กลางของเสาเข็มจะต้องห่างกัน อย่างน้อย 2 เท่า ของขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางสําหรับเสาเข็มกลม หรือ 2 เท่าของเส้นทแยงมุมสําหรับเสาเข็มสี่เหลี่ยมหรือเสาเข็มเหล็กแต่ต้องไม่น้อยกว่า 2.5 ฟุต หรือ 75 … Read More

เสาเข็ม ไมโครไพล์ ที่เหมาะกับการต่อเติม

เสาเข็มไมโครไพล์ที่เหมาะกับการต่อเติม ส่วนต่อเติมของบ้านที่ทรุดตัวนั้น  เราได้พบว่าปัจจัยหลักที่ทำให้เกิดปัญหาคือเสาเข็มที่สั้นเกินไป เช่นเสาขย่มที่ผู้รับเหมานิยมนำเข็มคอนกรีตหกเหลี่ยมมาค่อยๆ ขย่มลงไปในพื้นดินด้วยความลึกเพียง 5-6 เมตร เป็นผลให้เมื่อดินรอบๆ บ้านเกิดการทรุดตัว เสาเข็มจึงทรุดลงไปพร้อมๆ กัน เพราะเสาเข็มที่ช่างรับเหมาหลายๆ ท่านเลือกใช้นั้นเป็นเพียงเสาคอนกรีตหกเหลี่ยมยาว 4 เมตรเท่านั้น ในความเป็นจริงแล้วการลงเสาเข็มที่ถูกต้องสำหรับการสร้างบ้านนั้นจะต้องตอกลึกลงไปถึงชั้นดินแข็งคือ 18-21 เมตร แต่บางครั้งถ้าเป็นการใช้งานที่ไม่ได้รับน้ำหนักมากนัก ฐานรากแบบแผ่ … Read More

เหล็กเสริมต้านทานการแตกร้าวอันเนื่องมาจากการหดตัวที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิในแผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็นแผ่นพื้นทางเดียวและแผ่นพื้นสองทาง

เหล็กเสริมต้านทานการแตกร้าวอันเนื่องมาจากการหดตัวที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิในแผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็นแผ่นพื้นทางเดียวและแผ่นพื้นสองทาง สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน  เนื่องจากเมื่อวานนี้ผมได้พูดถึงเรื่อง เหล็กเสริมต้านทานการแตกร้าวอันเนื่องมาจากการหดตัวที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ ซึ่งถือได้ว่าเป็นเหล็กเสริมประเภทหนึ่งที่เราจำเป็นต้องทำการพิจารณาให้ต้องทำการเสริมอยู่ในแผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นทางเดียว และ แผ่นพื้นสองทาง ให้แก่เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้รับทราบกันไปนั้น ปรากฎว่ามีเพื่อนของผมท่านหนึ่งซึ่งติดตามอ่านบทความของผมได้ทักผมมาหลังไมค์ว่า อยากให้ผมได้ทำการยกตัวอย่างการคำนวณในเรื่องๆ นี้สักหน่อยเพื่อนๆ จะได้เกิดความเข้าใจและนึกภาพออกกัน ครั้นจะรอนำเอาคำถามข้อนี้ไปเป็นคำถามประจำสัปดาห์ก็คิดว่าจะไม่เหมาะเพราปัญหาข้อนี้จะมีความง่ายดายมากจนเกินไป ผมเลยตัดสินใจว่าจะขออนุญาตเพื่อนๆ นำตัวอย่างการคำนวณมาแสดงให้ได้ดูกันในวันนี้เสียเลยก็แล้วกัน ทั้งนี้จะได้ไม่เป็นการขาดตอนจากเมื่อวานด้วย … Read More

ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป

ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดถึงเรื่อง ความหนาน้อยที่สุดสำหรับแผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นทางเดียว และ แผ่นพื้นสองทาง ให้แก่เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้รับทราบกันนะครับ โดยที่ผมต้องขออธิบายก่อนนะครับว่าสาเหตุที่ข้อกำหนดในการออกแบบได้กำหนดให้เราต้องทำการคำนวณหาค่าความหนาน้อยที่สุดของทั้งแผ่นพื้นทางเดียวและแผ่นพื้นสองทางนั่นเป็นเพราะว่า … Read More

ความรู้ทางด้านการเตรียมตัวสอบใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรม CONCENTRATED LOAD และ น้ำหนักกระทำแบบแผ่กระจายตัวสม่ำเสมอ หรือว่า UNIFORMLY DISTRIBUTED LOAD

ความรู้ทางด้านการเตรียมตัวสอบใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรม CONCENTRATED LOAD และ น้ำหนักกระทำแบบแผ่กระจายตัวสม่ำเสมอ หรือว่า UNIFORMLY DISTRIBUTED LOAD พบกันอีกครั้งในช่วงบ่ายของวันเสาร์แบบนี้นะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาเชิญชวนเพื่อนๆ ให้มาร่วมสนุกตอบคำถามร่วมกัน โดยที่คำถามที่ผมได้เลือกมานั้นจะเป็นหนึ่งในหัวข้อที่ผมได้ทำการโพสต์ไปในสัปดาห์ที่ผ่านมานั่นก็คือเรื่อง ความรู้ทางด้านการเตรียมตัวสอบใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรม โดยที่ใจความของคำถามในวันนี้นั้นง่ายมากๆ เลยนะครับ นั่นก็คือ จากรูปคานช่วงเดียวที่มีการรับ น้ำหนักกระทำแบบจุด หรือว่า … Read More

ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป

วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยในวันนี้ผมจะมาตอบคำถามของแฟนเพจท่านหนึ่งทีได้ทิ้งคำถามเอาไว้ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ เสาเข็ม โดยที่ประเด็นนี้จะมีความต่อเนื่องมาจากในสัปดาห์ที่แล้วซึ่งผมก็ถือได้ว่าคำถามๆ นี้มีความน่าสนใจดีนะครับ นั่นก็คือ เพราะเหตุใดเราจึงนิยมใช้ค่าสัดส่วนความปลอดภัยเท่ากับ 2.5 ในการคำนวณหาค่ากำลังการรับน้ำหนักของเสาเข็มเวลาที่เราทำการตรวจสอบการทำ BLOW COUNT นั่นเองครับ ก่อนที่จะตอบคำถามข้อนี้ ผมต้องขอย้อนเนื้อหากลับไปในเนื้อหาก่อนหน้านี้ที่เคยโพสต์ไปแล้วสักนิดก่อนนะครับว่า กลไกในการส่งถ่ายแรงตามแนวแกนหรือ … Read More

การวิเคราะห์โครงสร้างด้วยวิธีและซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเมนต์ (STRUCTURAL ANALYSIS BY FINITE ELEMENTS ANALYSIS METHOD & SOFTWARE หรือ FEM)

 การวิเคราะห์โครงสร้างด้วยวิธีและซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเมนต์ (STRUCTURAL ANALYSIS BY FINITE ELEMENTS ANALYSIS METHOD & SOFTWARE หรือ FEM) เนื่องจากมีรุ่นพี่วิศวกรที่ผมรักและเคารพของผมท่านหนึ่งได้ทำการสอบถามผมเข้ามาที่หลังไมค์เกี่ยวกับซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเมนต์ว่า “ที่ตำแหน่งของ จุดต่อ แบบยึดหมุนที่สามารถเคลื่อนทีได้ในแนวดิ่ง (VERTICAL ROLLER SUPPORT) ดังที่แสดงในรูปๆ … Read More

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE)

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) หัวข้อการออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE)  จริงๆ แล้วทฤษฎีในการคำนวณการรับ นน ของเสาเข็มนั้นมีหลากหลายทฤษฎีมากๆ … Read More

การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์

การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์ (STRUCTURAL DYNAMICS ENGINEERING หรือ SDE) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์ (STRUCTURAL DYNAMICS ENGINEERING หรือ SDE) นะครับ เนื่องจากในช่วงเวลาที่ผ่านมานั้นมีน้องๆ วิศวกรหลายๆ คนเข้ามาปรึกษาและอยากให้ผมให้ ตย ในการคำนวณเกี่ยวกับการออกแบบโครงสร้างเพื่อรับแรงชนิดพลศาสตร์ (DYNAMICS … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว

การออกแบบงานวิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว (WIND & SEISMIC ENGINEERING DESIGN หรือ WSE) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว (WIND & SEISMIC ENGINEERING DESIGN หรือ WSE) นะครับ หลังจากที่เมื่อหลายวันก่อนหน้านี้ผมได้เล่าและแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องภัยอันตรายจาก นน … Read More

1 2 3 4 5 7