วิธีในการคำนวณหาระยะที่จะเกิดการเสียรูปในทิศทางของแนวดิ่งที่มีค่ามากที่สุด
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ เนื่องจากเมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมานั้นผมได้ทำการตั้งคำถามประจำสัปดาห์ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง การคำนวณหาค่าระยะการเสียรูปในทิศทางของแนวดิ่งมากที่สุดหรือ MAXIMUM VERTICAL DISPLACEMENT ภายในโครงสร้างคานที่มีลักษณะเป็นแบบช่วงเดียวหรือ SIMPLE BEAM โดยที่ในปัญหาข้อนั้นผมได้อ้างอิงถึง “ตำแหน่ง” ที่จะเกิดค่าดังกล่าวว่าจะอยู่ที่ระยะ “3.085 … Read More
การตอกเสาเข็มไมโครไพล์ ให้ลึกถึงระดับมาตรฐาน (BLOW COUNT)
การจะดูว่าการตอกเสาเข็มในแต่ละจุดว่าเสร็จสิ้นเรียบร้อยตามมาตรฐานที่กำหนดหรือไม่นั้น มิใช่ดูแต่เพียงว่าเสาเข็มตอกจมมิดลงไปในดินเท่านั้น แต่จะต้องดูจำนวนครั้งในการตอกด้วย (Blow Count) ว่าเสาเข็มแต่ละต้นใช้จำนวนครั้งในการตอกเท่าใดจนเสาเข็มจมมิดดิน ถ้าจำนวนครั้งในการตอกน้อยเกินไป คือสามารถตอกลงไปได้ง่าย แสดงว่าความแน่นของดินที่จุดนั้นที่จะใช้ในการรับน้ำหนักยังไม่เพียงพอ อาจจะต้องมีการต่อเสาเข็มและตอกเพิ่มลงไปอีกจนกว่าจำนวนครั้งในการตอกจะเป็นไปตามที่กำหนด ในทางตรงกันข้ามถ้าจำนวนครั้งในการตอกมากเพียงพอแล้วแม้ว่าเสาเข็มที่ตอกนั้นจะยังจมไม่มิดก็อาจแสดงว่าความแน่นของดินที่จุดนั้นที่จะใช้ในการรับน้ำหนักเพียงพอแล้ว ไม่จำเป็นจะต้องตอกต่อลงไปอีก เพราะการฝืนตอกต่อไปอาจทำให้เสาเข็มแตกหักหรือชำรุดได้ ส่วนจำนวนครั้งในการตอกเสาเข็มแต่ละต้นควรจะเป็นเท่าใดนั้นวิศวกรจะเป็นผู้กำหนด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิด ขนาดของพื้นที่หน้าตัดเสาเข็ม และความยาวของเสาเข็มนั้น ๆ
ต่อเติมบ้าน ต้องการเสาเข็ม แนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) เพื่อป้องกันการทรุดตัวของส่วนต่อเติมได้ตรงจุด
ต่อเติมบ้าน ต้องการเสาเข็ม แนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) เพื่อป้องกันการทรุดตัวของส่วนต่อเติมได้ตรงจุด ต่อเติมบ้าน ต้องการเสาเข็มคุณภาพ ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ โดยภูมิสยาม เป็นเสาเข็มที่มีโครงเหล็กฝังอยู่ในเนื้อคอนกรีตโดยรอบ และมีรูกลมกลวงตรงกลาง จากการ (SPUN=กรอ,หมุน,ปั่น,เหวี่ยง) ในแบบหล่อที่แข็งแรงด้วยเครื่องจักรที่ทันสมัย ทำให้มีความหนาแน่นและแข็งแกร่งกว่าคอนกรีตที่หล่อด้วยวิธีธรรมดา เสาเข็มได้รับมาตรฐาน มอก. 397-2524 … Read More
การวิเคราะห์แรงกระทำทางด้านข้างแก่โครงสร้างของอาคารอันเนื่องมาจากแรงลม
สวัสดีวันเสาร์ช่วงเย็นๆ แบบนี้นะครับ วันนี้ก็มาพบกับ Mr.เสาเข็ม กันอีกแล้ว วันนี้ก็มีความรู้ดีดีเกี่ยวกับการก่อสร้างมาฝากอีกเช่นเคย วันนี้จะเป็นเรื่อง การวิเคราะห์แรงกระทำทางด้านข้างแก่โครงสร้างของอาคารอันเนื่องมาจากแรงลม เราสามารถที่จะจำแนกวิธีในการคำนวณแรงลมที่กระทำต่ออาคารออกได้เป็น 3 วิธีใหญ่ๆ คือ (1) วิธีการอย่างง่าย (SIMPLIFIED PROCEDURE) (2) วิธีการอย่างละเอียด (DETAILED PROCEDURE) (3) … Read More