บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

การทดสอบดินหรือ SOIL BORING TEST เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ในรูปที่ 1 2 3 4 และ … Read More

ขอดูภาพตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ในอาคารหน่อยครับ?

ขอดูภาพตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ในอาคารหน่อยครับ? ได้ครับ เรามีตัวอย่างภาพ ตอกเสาเข็มในอาคาร หรือบ้านครับ – มกราคม 2560 ภูมิสยามและทีมงาน พร้อมให้บริการคะ ไม่ว่างานเล็ก งานใหญ่ งานใหญ่มากๆ งานในที่แคบ หรือใกล้กระจก ต้องเข็มเล็ก พลังใหญ่ เข็มสปัน … Read More

เมื่อไรควรใช้ปั๊มคอนกรีต

การนำปั๊มคอนกรีตไปใช้งาน ควรใช้ปั๊มคอนกรีตกับสถานการณ์ดังต่อไปนี้ การขาดแคลนแรงงาน เวลาก่อสร้างมีจำกัด การเทคอนกรีตจำนวนมาก สถานที่เทคอนกรีต ยากต่อการลำเลียงคอนกรีตโดยวิธีอื่น มีการจัดส่งคอนกรีตอย่างเพียงพอและสม่ำเสมอ คนงานมีความรู้ ประสบการณ์และมีการวางแผนงานที่ดี ข้อมูลจาก ศูนย์วิชาการคอนกรีตซีแพค

การทำงานใต้ฐานเหล็กแผ่นรับโครงสร้างเสาเหล็ก ด้วยการเทช่องว่างข้างล่างให้เต็มด้วย ซีเมนต์ชนิดไม่มีการหดตัว หรือ ที่เรานิยมเรียกกันว่า NON-SHRINK

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยในวันนี้ผมจะขออนุญาตพูดถึงเรื่องเล็กเรื่องหนึ่งที่จริงๆ แล้วต้องถือว่าไม่เล็กเลย นั่นก็คือ การทำงานส่วนใต้ฐานเหล็กแผ่นที่ทำหน้าที่ในการรับโครงสร้างเสาเหล็กด้วยการเทช่องว่างข้างล่างนี้ให้เต็มด้วย ซีเมนต์ชนิดไม่มีการหดตัว หรือ ที่เรานิยมเรียกกันว่า NON-SHRINK นั่นเองนะครับ   โครงสร้างเสาเหล็กในรูปที่แสดงนั้นได้ถูกทำการยึดและติดตั้งลงไปบนเหล็กแผ่นเป็นที่เรียบร้อยแล้ว … Read More

1 3 4 5 6 7 8 9 175