คานคอดิน (GROUND BEAM) ควรอยู่สูงจากระดับพื้นดินเท่าไหร่
คานคอดิน (Ground Beam) คือส่วนประกอบโครงสร้างบนดินที่รับน้ำหนักพื้น ผนัง และสิ่งที่อยู่เหนือคานคอดินขึ้นไป แล้วจึงถ่ายน้ำหนักไปยังตอม่อและฐานรากต่อไป การก่อสร้างคานคอดิน แบ่งจากระดับความสูงจากพื้นดินได้ 2 แบบ คานคอดินวางอยู่บนระดับดิน เนื่องจากระดับพื้นชั้นล่างอยู่สูงจากระดับดินไม่มากนัก ในการก่อสร้างจึงมักทำเนินดินให้สูงเสมอท้องคานคอดิน และเทลีน (Lean) เพื่อใช้เป็นแบบหล่อท้องคานแทนการใช้ไม้แบบ และใช้ไม้แบบเฉพาะด้านข้างคานทั้งสองด้าน คานคอดินอยู่สูงจากระดับดินมากกว่า 1 … Read More
Dynamic Load Test เป็นหนึ่งในกระบวนการโดย Third Party คะ ต้องการเสาเข็มมาตรฐาน มอก. การตอกมาตรฐาน ISO ใว้ใจภูมิสยามนะคะ ทีมงานเรา พร้อมตอกทุกพื้นที่คะ :-D
Dynamic Load Test เป็นหนึ่งในกระบวนการโดย Third Party คะ ต้องการเสาเข็มมาตรฐาน มอก. การตอกมาตรฐาน ISO ใว้ใจภูมิสยามนะคะ ทีมงานเรา พร้อมตอกทุกพื้นที่คะ 😀 สปันไมโครไพล์แท้ มาตรฐาน มอก. โดย ภูมิสยาม … Read More
เสาเข็ม spun micropile สปันไมโครไพล์ เสาเข็ม ต่อเติมข้างบ้าน ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม)
เสาเข็ม spun micropile สปันไมโครไพล์ เสาเข็ม ต่อเติมข้างบ้าน ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม) เพราะว่า เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงการเพื่อการระบายดินสามารถลดแรงสั่นสะเทือนได้ และ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย – สวัสดีครับ ช่วงนี้งานเสริมฐานรากอาคาร หรือ … Read More
การเปรียบเทียบผลการทดสอบดิน จากการเจาะสำรวจก่อนการก่อสร้าง และในขณะทำการก่อสร้างตัวเสาเข็มเจาะจริง
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการยกตัวอย่างกรณีศึกษาหนึ่งของการทำการทดสอบงานดินให้แก่เพื่อนๆ ทุกคนได้รับกันนั่นก็คือ การทำการเปรียบเทียบผลการทดสอบดินจากการทำการเจาะสำรวจก่อนการก่อสร้างและในขณะที่ได้ทำการก่อสร้างตัวเสาเข็มเจาะจริงๆ เรามักจะไม่ค่อยได้พบเจอกับกรณีของการทดสอบดินแบบนี้ได้บ่อยนักนะครับ เพราะว่าโอกาสที่จะทำการทดสอบดินในลักษณะนี้จะพบเจอได้ค่อนข้างยากมากเลยทีเดียว ซึ่งส่วนใหญ่เราจะมีโอกาสพบเจอกรณีของการทดสอบแบบนี้ได้ในงานก่อสร้างโครงสร้างจำพวกเสาเข็มเจาะที่อยู่ในฐานรากที่ทำหน้าที่รองรับตอม่อของสะพานในงานของทางราชการเสียเป็นส่วนใหญ่ครับ ก่อนที่จะทำการก่อสร้างก็จะมีการทดสอบชั้นดินในบริเวณใกล้เคียงสถานที่ก่อสร้างนั้นๆ ก่อน เมื่อนำตัวอย่างดินเข้าห้องปฏิบัติการเสร็จเรียบร้อยทางวิศวกรธรณีเทคนิคก็จะทำการออกแบบเสาเข็มจากข้อมูลงานดินที่ได้เก็บขึ้นมานี้ก่อน … Read More