บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) ภายในอาคารเพิ่มเติม ระดับความสูงจำกัด เพื่อเพิ่มการรับน้ำหนัก

งานตอกเสาเข็มสำหรับต่อเติมบ้านจัดสรร ที่จุดต่อเติมอยู่ติดกับตัวโครงสร้างของบ้านเดิม งานตอกเสาเข็มสำหรับต่อเติมบ้านจัดสรร ที่จุดต่อเติมอยู่ติดกับตัวโครงสร้างของบ้านเดิม แถมยังอยู่ใกล้กับรั้วบ้านของเพื่อนบ้าน ถ้าหากว่าใช้เสาเข็มตอกขนาดใหญ่ก็เสี่ยงที่จะเกิดความเสียหายต่อโครงสร้างเดิม จึงจำเป็นต้องใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ที่เหมาะกับงานต่อเติมในลักษณะนี้มากกว่า งานต่อเติมโครงการบ้านจัดสรร บ้านสถาพร รังสิต คลอง 3 ตัวบ้านมีกระจกอยู่รอบด้าน จึงจำเป็นต้องใช้เสาเข็มแบบสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) ที่มีแรงสั่นสะเทือนตอนตอกน้อยกว่าเสาเข็มแบบอื่นๆ หลังจากตอกเสาเข็มลงลึกจนถึงชั้นดินแข็งแล้ว ด้วยการเช็คจาก … Read More

ประเภท และ คุณสมบัติหลักๆ ของยางมะตอย

สวัสดีครับ วันนี้ Mr.เสาเข็ม จะมาต่อยอดถึงสาระและความรู้จากเมื่อวานกันนะครับ วันนี้จะเป็นเรื่องของประเภท และ คุณสมบัติหลักๆ ของยางมะตอย ยางมะตอยจะเป็นกากที่เหลือจากการกลั่นน้ำมันดิบ ทำให้มีลักษณะเหนียวหนืด ไม่เหมือนกับน้ำมันเบนซิน หรือ ดีเซล ที่ได้จากการกลั่นเช่นกัน โดยเนื่องจากการที่กระบวนการในการผลิตยางมะตอยนั้นได้มาจากการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม โดยที่ยางมะตอยจะเป็นส่วนหนึ่งของน้ำมันดิบที่มี นน มากที่สุด และ จะถูกนำไปผ่านกระบวนการๆ … Read More

เคมีภัณฑ์สำหรับยึดจับเหล็กเสริมที่ใช้ในงาน คสล (CHEMICAL ANCHOR STEEL)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ ช่วงบ่ายของเมื่อวานนี้มีเกลอเก่าของผมท่านหนึ่งได้อินบ็อกซ์เข้ามาปรึกษาผมเกี่ยวกับปัญหาในการทำงานวิศวกรรมฐานรากกับผมว่า ในงานการก่อสร้างโรงงานแห่งหนึ่ง ผู้ออกแบบกำหนดให้ใช้เสาเข็มขนาดความยาว 12 ม/ท่อน แบบ 2 ท่อนต่อกันและเชื่อมรอยต่อ … Read More

บ้านทรุดตัว บ้านแตกร้าว แก้ปัญอย่างไร

บ้านทรุดตัว บ้านแตกร้าว แก้ปัญหาอย่างไร ปัญหาบ้านทรุดตัวเกิดจากอะไร? ปัญหานี้เกิดได้หลายสาเหตุ โดยปัจจัยหลัก ๆ มักมาจากเสาเข็มและการเคลื่อนตัวของพื้นดิน ขอเรียนว่าเรื่องนี้ไม่ใช่เรื่องใหม่แต่อย่างใด เพราะพบเห็นกรณีนี้มาอย่างต่อเนื่องยิ่งในช่วงฤดูฝน บ้านเรือนส่วนใหญ่ที่สร้างขึ้นมาโดยลงเสาเข็มไม่ลึก ก็จะเกิดปัญหาบ้านทรุดตัวลง เพราะการตอกเสาเข็มลงไปไม่ถึงชั้นดินที่แข็งแรงพอ ส่วนใหญ่มักเกิดจากกรณีที่ไม่เจาะสำรวดพื้นดิน หรือเกิดจากการการควบคุมการก่อสร้างเสาเข็มที่ไม่ได้มาตรฐาน เมื่อปลายของเสาเข็มไม่ถึงชั้นดินที่แข็งแรง หลังจากการก่อสร้างบ้านเสร็จ หากเสาเข็มรับน้ำหนักไม่ได้ทำให้บ้านเกิดการทรุดตัวลงอย่างรวดเร็วภายในระยะเวลาสั้น ๆ หลังก่อสร้างเสร็จ … Read More

1 2 3 4 5 6 7 8 175