บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

คอนกรีตแข็งตัวเร็ว

คุณสมบัติ เป็นคอนกรีตที่ถูกพัฒนามาเพื่องานที่ต้องการกำลังอัด ที่กำหนดในช่วงระยะสั้น โดยส่วนผสมคอนกรีตประเภทนี้จะใช้น้ำยาผสมคอนกรีตประเภทลดน้ำอย่างมาก ตามมาตรฐาน ASTM C 494 คอนกรีตประเภทนี้จะมีระยะเวลาการแข็งตัวที่เร็วกว่าคอนกรีตปกติ ทำให้คอนกรีตสามารถพัฒนากำลังอัดในช่วงต้นได้ดี ขั้นตอนการทำงาน คอนกรีตประเภทนี้ใช้สำหรับงานซ่อมแซมผิวถนน ที่ต้องการกำลังอัดสูงในช่วงต้น งานที่ต้องการเปิดหน้างานเร็ว งานหล่อชิ้นส่วนสำเร็จรูป เป็นต้น โดยทั่วไปคอนกรีตชนิดนี้จะถูกออกแบบมาให้สามารถพัฒนากำลังอัดได้ตามค่าที่ ต้องการภายในระเวลา 8-24 ชั่วโมง … Read More

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) เสาเข็มที่ได้คุณภาพมาตรฐาน มอก. สามารถรองรับโครงสร้างอาคารใหม่ได้มั่งคงแข็งแรงและปลอดภัย

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) เสาเข็มที่ได้คุณภาพมาตรฐาน มอก. สามารถรองรับโครงสร้างอาคารใหม่ได้มั่งคงแข็งแรงและปลอดภัย เสาเข็มสปันไมโครไพล์ สามารถตอกเพื่อสร้างฐานรากโครงสร้างของอาคารใหม่ได้ เพราะเป็นเสาเข็มที่มีความมั่นคงแข็งแรงสูง ใช้นวัตกรรมการผลิตแบบใหม่ ด้วยเครื่องจักรที่ทันสมัย เป็นเทคโนโลยีจากประเทศเยอรมัน โดยใช้แรงเหวี่ยง (สปัน=กรอ,หมุน,ปั่น,เหวี่ยง) ในแบบหล่อที่แข็งแรง ทำให้มีความแข็งแกร่งกว่าคอนกรีตที่หล่อด้วยวิธีธรรมดา สามารถรองรับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัย ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic … Read More

ชิ้นส่วนโครงสร้างเสาเหล็ก (STEEL COLUMN) กับชิ้นส่วนจุดรองรับที่เป็นตอม่อคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน   หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ   พบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันเสาร์แบบนี้นะครับ และ เหมือนเช่นเคยนะครับ วันนี้ผมจะมีคำถามที่อยากจะขอเชิญชวนให้เพื่อนๆ นั้นได้มาร่วมสนุกตอบคำถามด้วยกันนะครับ ผมจะขออนุญาตทำการสมมติว่าเพื่อนๆ … Read More

ความรู้ วิศวกรรมงานดินและวิธีในการอ่านข้อมูล การนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG

ความรู้ วิศวกรรมงานดินและวิธีในการอ่านข้อมูล จริงๆ แล้วเนื้อหาของการโพสต์ในวันนี้ยังคงวนเวียนอยู่ในเรื่องเดิมๆ จากเนื้อหาของเมื่อ 2 วัน ก่อนหน้านี้นั่นก็คือ เรื่อง การที่เสาเข็มต้องรับแรงดึง นั่นเองนะครับ โดยที่ได้มีคำถามเข้ามาจากเพื่อนๆ หลายๆ คนถามกันเข้ามาว่า เสาเข็มรับแรงดึงนั้นพอเข้าใจ แต่ ว่าตัวของ ดิน เองนั้นจะสามารถรับ แรงดึง … Read More

1 43 44 45 46 47 48 49 175