บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

การออกแบบบันไดภายนอก (EXTERIOR STAIRCASE) ในตัวอาคาร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างอาคารสูง (TALL BUILDING DESIGN หรือ TBD) นะครับ เนื่องจากเมื่อเร็วๆ นี้ผมได้มีโอกาสออกแบบอาคารสูงอยู่หลังหนึ่ง และ ได้มีจังหวะหลังการประชุมงานนั่งทานกาแฟและพูดคุยกับสถาปนิกผู้ออกแบบในโครงการนั้นๆ เราได้แลกเปลี่ยนข้อมูลและมุมมองในการออกแบบซึ่งกันและกัน และ ตัวของผมเองได้รับทราบข้อมูลดีๆ และ น่าที่จะเป็นประโยชน์ต่องานออกแบบต่อๆ ไปของตัวผมเอง … Read More

การใส่เหล็กเสริมรับแรงเฉือนแนวดิ่งและเหล็กเสริมทแยงรอบช่องเปิด

  ref : https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1307391802640275   นายช่างปุ๊มีความรู้พื้นฐานมาเล่าให้ฟังครับ “Sleeve หรือ ช่องเปิด” ในคานคอนกรีตทำอย่างไรมาดูกันครับ การใส่เหล็กเสริมรับแรงเฉือนแนวดิ่งและเหล็กเสริมทแยงรอบช่องเปิด มีส่วนสําคัญอย่างมากในการเพิ่มกําลังต้านทานแรงเฉือนในคานคอนกรีตเสริมเหล็กที่มีช่องเปิด การใส่แผ่นเหล็กเสริมบางรอบช่องเปิดและการใส่เหล็กเสริมแนวดิ่งบริเวณคอร์ดบนและคอร์ดล่าง มีส่วนช่วยเพิ่มกําลังต้านทานแรงเฉือนของคาน Cr.ผลงานวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์นเรฏฐ์ พันธราธร —————— ผู้เขียนบทความสั้น นายช่างปุ๊ BSP-Bhumisiam … Read More

ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง การออกแบบเสายาว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เมื่อหลายวันก่อนผมได้มีโอกาสสนทนากับท่านอาจารย์ที่ผมเคารพมากท่านหนึ่งเกี่ยวกับเรื่องการออกแบบ SLENDER COLUMN โดยที่เนื้อหาที่คุยกันนั้นผมได้เล่าให้ท่านอาจารย์ฟังถึงกรณีของขนาดของโครงสร้างเสาภายในอาคาร 3 ชั้นที่เกิดเพลิงไหม้และในที่สุดก็เกิดการถล่มลงมาเมื่อหลายวันก่อนนั้นมีขนาดที่ค่อนข้างจะเล็กมากๆ อย่าว่าแต่ LATERAL LOAD CASE เลย เฉพาะแค่ … Read More

ขั้นตอนในการคำนวณค่า EFFECTIVE INERTIA

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ยุ่งอีกตามเคยนะครับ เลยมาพบเพื่อนๆ ช้าอีกหนึ่งวัน ก่อนที่ผมจะอธิบายต่อถึงขั้นตอนในการคำนวณค่า EFFECTIVE INERTIA อย่างที่ผมได้รับปากเพื่อนๆ ไว้เมื่อวานนะครับ ในวันนี้ผมจะขอมาอธิบายเรื่องหลักการในการประเมินใช้ LOAD CASE สำหรับการคำนวณเรื่อง DEFLECTION เมื่อต้องตรวจสอบค่าการโก่งตัวของหน้าตัด คสล ที่ต้องรับแรงดัดก่อนจะดีกว่าครับ ทำไมผมถึงต้องอธิบายเรื่องนี้หรอครับ ? … Read More

1 42 43 44 45 46 47 48 175