ผู้บริหารนำเสนอการวางยุทธศาสตร์และภาพลักษณ์ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกแบรนด์เสาเข็มสปันไมโครไพล์ สำหรับผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมก่อสร้าง
กรรมการผู้จัดการ ภูมิสยามฯ นำเสนอผลงานระดับนานาชาติ การวางยุทธศาสตร์และภาพลักษณ์ต่อการตัดสินใจเลือกแบรนด์เสาเข็มสปันไมโครไพล์ สำหรับผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมก่อสร้าง นายรัฐโรจน์ ภูริหิรัญพิพัฒ (แถวล่างซ้ายสุด) กรรมการผู้จัดการบริษัทภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้ผลิตและจัดจำหน่ายเสาเข็มสปันไมโครไพล์ เทคโนโลยีการผลิตจากประเทศเยอรมัน ได้รับเกียรติให้เข้าบรรยายพร้อมนำเสนอผลงานระดับนานาชาติ เกี่ยวกับการวางยุทธศาสตร์และภาพลักษณ์ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกแบรนด์เสาเข็มสปันไมโครไพล์ สำหรับผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมก่อสร้าง ภายใต้หัวข้อ “Green ASIA and … Read More
ตอกเสาเข็ม สร้างอาคารใหม่หรือต่อเติมโครงสร้างอาคารเดิม วิศวกรแนะนำใช้ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ spun micropile มาตรฐาน มอก. โดย ภูมิสยามฯ
ตอกเสาเข็ม สร้างอาคารใหม่หรือต่อเติมโครงสร้างอาคารเดิม วิศวกรแนะนำใช้ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ spun micropile มาตรฐาน มอก. โดย ภูมิสยามฯ ขอแนะนำเสาเข็มมาตรฐาน มอก. 397-2524 โดยภูมิสยาม ซึ่งได้ ISO 9001:2015 ทั้งกระบวนการตอกและการผลิต พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง … Read More
สารยับยั้งการเกิดสนิมของเหล็กเสริม (CORROSION INHIBITOR)
การเกิดสนิมของเหล็กเสริมในโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก เป็นปัญหาสำคัญที่ก่อให้เกิดความเสียหายทั้งรอยแตกร้าว คราบน้ำสนิม การหลุดร่อนของคอนกรีต รวมไปถึงการพังทลายของโครงสร้าง ความเสียหายที่มักพบเนื่องจากสาเหตุการเกิดสนิมได้แก่ คราบน้ำสนิมบนผิวคอนกรีต รอยแตกร้าวเนื่องจากการขยายตัวของสนิมเหล็ก การระเบิดออกของผิวคอนกรีต ซึ่งหากไม่มีการซ่อมแซมโครงสร้างดังกล่าวอย่างถูกต้องเหมาะสม อาจนำไปสู่การพังทลายของโครงสร้างได้ การซ่อมแซมการเกิดสนิมอีกวิธีวิธีที่ได้รับการนิยมเป็นอย่างสูง ได้แก่ การใช้สารยับยั้งการเกิดสนิม ซึ่งมีความสะดวกในการดำเนินการ และอาจใช้ควบคู่ไปกับวิธีการป้องกันและซ่อมแซมอื่นๆ ได้ เพื่อให้ระบบการป้องกันและซ่อมแซมมีความประสิทธิภาพ และมีความคงทนมากยิ่งขึ้น สารยับยั้งการเกิดสนิม (Corrosion Inhibitor) … Read More
ข้อมูลและตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับการเจาะสำรวจชั้นดินในพื้นที่ต่างจังหวัด
ข้อมูลและตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับการเจาะสำรวจชั้นดินในพื้นที่ต่างจังหวัด เริ่มต้นดูรูปที่แสดงตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับการเจาะสำรวจชั้นดินในพื้นที่ต่างจังหวัดกันก่อนนะครับ หากเพื่อนๆ สังเกตดูดีๆ จะพบว่าช่องที่แสดงค่า ความลึกของหลุมเจาะ ในตารางๆ นี้จะมีความแตกต่างออกไปจากตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับการเจาะสำรวจชั้นดินในเขตพื้นที่ กทม และ ปริมณฑล ที่เคยนำมาเล่าให้ฟังก่อนหน้านี้นะครับ โดยที่ในช่องๆ นี้ของตารางที่แสดงนี้จะไมได้แสดงค่าความลึกของหลุมเจาะตรงๆ แต่ กลับแสดงว่าระยะนี้จะมีค่าเท่ากับระยะความลึกที่เมื่อทำการทดสอบ SPT เพื่อที่จะหาค่า N VALUE … Read More