เคมีภัณฑ์สำหรับยึดจับเหล็กเสริมที่ใช้ในงาน คสล (CHEMICAL ANCHOR STEEL)
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ ช่วงบ่ายของเมื่อวานนี้มีเกลอเก่าของผมท่านหนึ่งได้อินบ็อกซ์เข้ามาปรึกษาผมเกี่ยวกับปัญหาในการทำงานวิศวกรรมฐานรากกับผมว่า ในงานการก่อสร้างโรงงานแห่งหนึ่ง ผู้ออกแบบกำหนดให้ใช้เสาเข็มขนาดความยาว 12 ม/ท่อน แบบ 2 ท่อนต่อกันและเชื่อมรอยต่อ … Read More
ประเภทของจุดต่อภายในโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ เนื่องจากเมื่อวันเสาร์และอาทิตย์ที่ผ่านมาผมได้ทำการตั้งคำถามประจำสัปดาห์เกี่ยวกับเรื่อง จุดต่อที่จะถ่ายแรงดัดและจุดต่อแบบกึ่งถ่ายแรงดัด ซึ่งก็มีแฟนเพจหลายๆ ท่านได้ให้ความสนใจไปมากพอสมควร ซึ่งในโพสต์ของวันอาทิตย์ที่ผมได้ทำการเฉลยคำถามก็มีแฟนเพจซึ่งเป็นคุณผู้หญิงท่านหนึ่งได้มาคอมเม้นต์ใต้โพสต์โดยที่มีใจความว่า “จากที่ผมได้ทำการอธิบายไปแสดงว่าเจ้า CONTINUITY PLATE นั้นถือได้ว่ามีความสำคัญอย่างมากกับโครงสร้างแบบนี้ใช่หรือไม่คะอาจารย์ (คือจำเป็นต้องมี) ?” ซึ่งผมก็ได้ตอบไปว่า … Read More
ค่าสัดส่วนความปลอดภัย หรือ SAFETY FACTOR
ค่าสัดส่วนความปลอดภัย หรือ SAFETY FACTOR เวลาที่เราทำการออกแบบค่า นน บรรทุกปลอดภัยของเสาเข็มนั้น ค่า SAFETY FACTOR ที่เรานิยมใช้โดยทั่วๆ ไปนั้นเท่ากับ 2.5 หรือ น้อยที่สุดเท่ากับ 2 นั้น ทางผู้ออกแบบเค้ามีเกณฑ์อย่างไรที่ใช้ในการประเมินและพิจารณาให้ค่าๆ นี้ออกมาเป็นดังนี้ครับ ? … Read More
ผลการวิเคราะห์จาก BORING LOG
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ เนื่องจากเมื่อหลายวันก่อนแอดมินได้โพสต์ถึงการนำ BORING LOG จากกรณีที่หน้างาน CASE หนึ่งมาเป็น CASE STUDY ให้พวกเราได้ศึกษากัน และ จากโพสต์ๆ นั้นมีคำถามต่อว่า “ถ้าชั้น PILE TIP ที่เสาเข็มวางอยู่แล้วความหนาลึกลงไปอีก มากกว่าหรือเท่ากับ 5 … Read More