หากผลการทดสอบเสาเข็มด้วยกรรมวิธี DYANAMIC LOAD TEST แล้วค่าระยะการทรุดตัวที่ออกมามีค่ามากกว่าค่าที่ยอมให้ซึ่งเท่ากับ 25 mm จะมีวิธีการแก้ปัญหาในลักษณะแบบนี้ได้อย่างไร ?
หากผลการทดสอบเสาเข็มด้วยกรรมวิธี DYANAMIC LOAD TEST แล้วค่าระยะการทรุดตัวที่ออกมามีค่ามากกว่าค่าที่ยอมให้ซึ่งเท่ากับ 25 mm จะมีวิธีการแก้ปัญหาในลักษณะแบบนี้ได้อย่างไร ? ประการแรก ควรที่จะตรวจสอบดูก่อนนะครับว่า จำนวนเสาเข็มที่เราทำการทดสอบทั้งหมดนั้นมีกี่ต้น และ มีกี่ต้นที่ให้ผลออกมาในทำนองนี้ เพราะ จากประสบการณ์ของผมการทดสอบด้วยวิธี DYNAMIC LOAD TEST นั้นถือว่าเป็นวิธีการทดสอบที่ค่อนข้างที่จะมี … Read More
การวิเคราะห์โครงสร้างโดยการใช้ซอฟต์แวร์ทาง FINITE ELEMENT
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ปัญหาในวันนี้จะมีความเกี่ยวข้องกับปัญหาเรื่องการวิเคราะห์โครงสร้างโดยการใช้ซอฟต์แวร์ทาง FINITE ELEMENT นะครับ สืบเนื่องมาจากการที่เมื่อช่วงเวลาสักพักใหญ่ก่อนหน้านี้ ได้มีรุ่นพี่วิศวกรที่ผมรักและเคารพมากๆ ท่านหนึ่งได้หลังไมค์มาสอบถามกับผมโดยมีใจความของคำถามว่า “อยากให้ผมนั้นช่วยให้คำแนะนำถึงวิธีในการในการที่เราจะใส่ VERTICAL DISTRIBUTED LOAD … Read More
คอนกรีตเสริมเหล็ก (REINFORCED CONCRETE)
คอนกรีตเสริมเหล็ก (Reinforced Concrete) คือ คอนกรีตที่มีการเพิ่มสมรรถภาพการรับน้ำหนัก โดยการนำเหล็กเข้ามาเพื่อช่วยเพิ่มความสามารถที่ขาดไปของคอนกรีต โดยเฉพาะในเรื่องความเปราะและการรับแรงดึง กลไกสำคัญที่ทำให้เกิดกำลังคือ คอนกรีตรับแรงอัดและเหล็กเสริมรับแรงดึง เนื่องจากคอนกรีตมีความแข็งแรงในการรับแรงอัดได้ดีแต่มีความอ่อนแอในการรับแรงดึง ดังนั้นเมื่อรับน้ำหนักจะเกิดการแตกร้าวจากการหดตัวและการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ซึ่งทำให้เกิดหน่วยแรงดึงเกินกว่าที่คอนกรีตจะรับได้ ในคานคอนกรีตโมเมนต์ดัดที่เกิดขึนบนหน้าตัดจะถูกต้านทานโดยคู่ควบแรงอัด-แรงดึงในคอนกรีต คานดังกล่าวจะวิบัติอย่างรวดเร็วเมื่อเกิดรอยร้าวครั้งแรก ในคานคอนกรีตเสริมเหล็ก เหล็กเส้นจะถูกเสริมเข้าไปในคอนกรีตเพื่อรับแรงดึงทำหน้าท่ีแทนคอนกรีตหลังเกิดการแตกร้าว เพื่อทำหน้าท่ีเป็นแรงคู่ควบร่วมกับแรงอัดในคอนกรีตในการต้านทานโมเมนต์ดัดท่ีเกิดจากน้ำหนักบรรทุก เหล็กและคอนกรีตท้างานร่วมกันอย่างดีเนื่องมาจากเหตุผลหลายประการ คือ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างเหล็กและคอนกรีตมีเพียงพอที่จะไม่ทำให้เกิดการเลื่อนไถลของเหล็กเสริม … Read More
การออกแบบหน้าตัดของโครงสร้างคอนกรีต
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากเมื่อวานผมได้โพสต์บทความเรื่องโครงสร้างคอนกรีตล้วนให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกัน ก็มีเพื่อนของผมท่านหนึ่งได้กระซิบมาหลังไมค์สอบถามผมเกี่ยวกับเรื่องนี้พอดีครับว่า “ในการออกแบบหน้าตัดของโครงสร้างคอนกรีตล้วนนั้นมีวิธีการออกแบบพอสังเขปได้อย่างไร ?” ผมเลยขอคั่นการโพสต์บทความของผมด้วยการแสดง ตย ของการคำนวณโครงสร้างคอนกรีตล้วนให้เพื่อนๆ ได้รับทราบกันก่อนที่เราจะก้าวไปยังหัวข้อถัดไปนะครับ (รูป A) โดยที่ผมทำการสมมติให้ใช้ค่ากำลังอัดประลัยของคอนกรีต ตย ทรงกระบอกขนาดมาตรฐานที่อายุ 28 วัน เท่ากับ 210 … Read More