ความสำคัญของขั้นตอนการทดสอบคุณสมบัติของดิน
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการตอบคำถามให้แก่เพื่อนแฟนเพจท่านหนึ่งที่ได้ให้ความกรุณาสอบถามผมเข้ามาทางอินบ็อกซ์ส่วนตัวว่า “จากที่อ่านบทความของผมมาโดยตลอดผมจะสังเกตได้ว่าคุณดีนพูดอยู่บ่อยๆ ว่าควรที่จะทำการเจาะสำรวจดินในทุกๆ โครงการก่อสร้าง เพื่อที่เราจะได้ทราบค่าคุณสมบัติต่างๆ ของชั้นดิน คำถามก็คือ หากเราเป็นผู้ออกแบบหรือผู้รับเหมาที่จะต้องทำงานให้แก่เจ้าของบ้านที่ว่าจ้างเราแต่ทางเจ้าของบ้านไม่มีความเข้าใจว่าขั้นตอนในการทดสอบดินนั้นมีความสำคัญอย่างไร เราควรที่จะทำอย่างไรดีครับ?” … Read More
ต่อเติมหน้าบ้าน ต่อเติมบ้าน แนะนำ ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE มาตรฐาน มอก.
ต่อเติมหน้าบ้าน ต่อเติมหลังบ้าน แนะนำ ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE มาตรฐาน มอก. ด้วยเหตุผล เข้าพื้นที่แคบได้ และ เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัย 20-50 ตัน มีหลายขนาด 21, 23, 25, 30 … Read More
การใช้งานเครื่องคำนวณ
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขอมาแชร์ความรู้โดยการเล่าเสี้ยวหนึ่งของประสบการณ์ในการใช้งานเครื่องคำนวณให้แก่เพื่อนๆ และน้องๆ วิศวกรที่อาจจะกำลังเริ่มต้นงานการคำนวณทางด้านวิศวกรรมและอาจจะกำลังมองหาเครื่องมือหรือตัวช่วยในการคำนวณสักเครื่องอยู่นะครับ เพื่อนๆ หลายๆ คนคงจะทราบดีว่าผมนั้นใช้เครื่องคิดเลขยี่ห้อ TEXAS INSTRUMENT เป็นหลักแต่น้อยคนนักที่จะทราบว่าก่อนหน้านั้นผมเองก็เคยเป็นวิศวกรคนหนึ่งที่เคยเริ่มต้นงานคำนวณในสายงานวิศวกรรมโดยใช้เครื่องคิดเลขยี่ห้อ CASIO นะครับ ผมใช้ CASIO หลายรุ่นอยู่พักใหญ่ๆ เลยนะครับ เพราะตั้งต้นเรียนวิชาช่างก่อสร้างในระดับ ปวช เป็นใครในยุคผมก็ต้องใช้เครื่องยี่ห้อ … Read More
ขั้นตอนการออกแบบฐานรากเดี่ยวแบบแผ่
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมอยากที่จะมาขอต่อการแชร์ความรู้ในเรื่องของฐานรากแบบแผ่ให้จบต่อเนื่องจากหลายๆ ครั้งที่ผมได่โพสต์ไปก่อนหน้านี่้นะครับ โดยในวันนี่้ผมอยากที่จะมาสรุปขั้นตอนการออกแบบฐานรากเดี่ยวแบบแผ่ให้แก่เพื่อนๆ ได้ทราบและทำความเข้าใจกันพอสังเขปนะครับ (1) เลือกความลึกของฐานราก: โดยความหนาน้อยที่สุดสำหรับฐานรากแผ่ก็คือ 15 CM นับจากเหล็กเสริม และ ความหนาน้อยที่สุดในทางปฏิบัติก็คือ 30 CM โดยที่ระยะหุ้มของคอนกรีตจะต้องมีค่าไม่น้อยกว่า 8 CM ถ้าหากทำการหล่อคอนกรีตบนดินโดยตรง … Read More