ตอกเสาเข็ม สปัน ไมโครไพล์ Spun Micro Pile เสาเข็มเพื่อการต่อเติม ต่อเติมข้างบ้าน ตอกชิดกำแพงได้ 50 ซม. ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
ตอกเสาเข็ม สปัน ไมโครไพล์ Spun Micro Pile เสาเข็มเพื่อการต่อเติม ต่อเติมข้างบ้าน ตอกชิดกำแพงได้ 50 ซม. ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย เพราะว่า เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงการเพื่อการระบายดินสามารถลดแรงสั่นสะเทือนได้ และ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน สามารถตอกชิดกำแพงได้ 50 ซม. … Read More
การก่อสร้างโครงสร้างโครงข้อหมุนให้มีความแข็งแรง
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากรูปโครงสร้างโครงข้อหมุนทั้ง 3 รูปที่แสดงอยู่ในโพสต์ๆ นี้ หากทั้งชิ้นส่วนที่อยู่ในคอร์ดบนหรือ TOP … Read More
การวางตำแหน่งเสาเข็มที่มีความเหมาะสมในโครงสร้างฐานรากเดี่ยว (ISOLATED FOUNDATION) ที่ต้องใช้เสาเข็มจำนวนหลายๆ ต้น
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้เรื่องที่ผมจะนำมาฝากและมาตอบคำถามของน้องวิศวกรท่านหนึ่งที่เคยฝากคำถามผมมาสักพักใหญ่เกี่ยวกับเรื่องการวางตำแหน่งเสาเข็มที่มีความเหมาะสมในโครงสร้างฐานรากเดี่ยว (ISOLATED FOUNDATION) ที่ต้องใช้เสาเข็มจำนวนหลายๆ ต้นนะครับ จริงๆ แล้วคำถามข้อนี้ผมคิดว่าพวกเราน่าที่จะทราบกันดีอยู่แล้วนะครับว่าระยะห่างของเสาเข็มที่มีความเหมาะสมเพื่อไม่ให้เส้นแนวของแรงเค้นในเสาเข็มนั้นเกิดการซ้อนทับกัน (STRESS OVERLAPPING) คือ เท่ากับ 3 เท่าของเส้นผ่าศูนย์กลางของเสาเข็มนะครับ แต่ สำหรับโครงสร้างฐานรากที่ต้องใช้เสาเข็มจำนวนหลายๆ ต้นหากเราใช้ระยะนี้เท่ากับ 3 เท่าของเส้นผ่าศูนย์กลางของเสาเข็มจะทำให้ฐานรากนั้นมีขนาดใหญ่มาก … Read More
การแตกร้าวที่มีสาเหตุมาจากงานโครงสร้าง (STRUCTURAL CRACK)
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้เดินทางไปตรวจสอบการทำงานที่หน้างานและก็มีน้องวิศวกรท่านหนึ่งสอบถามผมเกี่ยวกับเรื่อง “พฤติกรรมของการแตกร้าวในคอนกรีต” ซึ่งเอาเข้าจริงๆ ผมก็ได้ให้คำอธิบายในเบื้องต้นไปบ้างแล้ว ดังนั้นในทุกๆ วันจันทร์ของช่วงนี้ผมก็เลยอยากจะขออนุญาตนำเอาความรู้เกี่ยวกับเรื่อง คุณสมบัติเรื่องการแตกร้าวที่เกิดขึ้นในคอนกรีต เอามาเล่าสู่กันฟังกับเพื่อนๆ ซึ่งเนื้อหาโดยส่วนใหญ่นั้นตัวผมเองนั้นก็เคยได้นำเอามาเผยแพร่ให้กับเพื่อนๆ ในรูปแบบของบทความไปก็นานพอสมควรแล้วแต่ไม่เป็นไรนะ เอาเป็นว่าหากเพื่อนๆ ท่านใดที่อาจจะเคยได้มีโอกาสอ่านบทความในครั้งนั้น … Read More