บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ผู้บริหารนำเสนอการวางยุทธศาสตร์และภาพลักษณ์ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกแบรนด์เสาเข็มสปันไมโครไพล์ สำหรับผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมก่อสร้าง

กรรมการผู้จัดการ ภูมิสยามฯ นำเสนอผลงานระดับนานาชาติ การวางยุทธศาสตร์และภาพลักษณ์ต่อการตัดสินใจเลือกแบรนด์เสาเข็มสปันไมโครไพล์ สำหรับผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมก่อสร้าง นายรัฐโรจน์ ภูริหิรัญพิพัฒ (แถวล่างซ้ายสุด) กรรมการผู้จัดการบริษัทภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้ผลิตและจัดจำหน่ายเสาเข็มสปันไมโครไพล์ เทคโนโลยีการผลิตจากประเทศเยอรมัน ได้รับเกียรติให้เข้าบรรยายพร้อมนำเสนอผลงานระดับนานาชาติ เกี่ยวกับการวางยุทธศาสตร์และภาพลักษณ์ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกแบรนด์เสาเข็มสปันไมโครไพล์ สำหรับผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมก่อสร้าง ภายใต้หัวข้อ “Green ASIA and … Read More

สร้างอาคารใหม่ หรือ ต่อเติมอาคารเดิม ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE ได้ไหมครับ

สร้างอาคารใหม่ หรือ ต่อเติมอาคารเดิม ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE ได้ไหมครับ ได้ครับ เพราะเสาเข็มสปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE ตอกแล้ว แรงสั่นสะเทือนน้อยกว่าเสาเข็มทั่วไป หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย และทำงานได้รวดเร็วครับ และสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 20-40 … Read More

เสาเข็ม ไมโครไพล์ ที่เหมาะกับการต่อเติม

เสาเข็มไมโครไพล์ที่เหมาะกับการต่อเติม ส่วนต่อเติมของบ้านที่ทรุดตัวนั้น  เราได้พบว่าปัจจัยหลักที่ทำให้เกิดปัญหาคือเสาเข็มที่สั้นเกินไป เช่นเสาขย่มที่ผู้รับเหมานิยมนำเข็มคอนกรีตหกเหลี่ยมมาค่อยๆ ขย่มลงไปในพื้นดินด้วยความลึกเพียง 5-6 เมตร เป็นผลให้เมื่อดินรอบๆ บ้านเกิดการทรุดตัว เสาเข็มจึงทรุดลงไปพร้อมๆ กัน เพราะเสาเข็มที่ช่างรับเหมาหลายๆ ท่านเลือกใช้นั้นเป็นเพียงเสาคอนกรีตหกเหลี่ยมยาว 4 เมตรเท่านั้น ในความเป็นจริงแล้วการลงเสาเข็มที่ถูกต้องสำหรับการสร้างบ้านนั้นจะต้องตอกลึกลงไปถึงชั้นดินแข็งคือ 18-21 เมตร แต่บางครั้งถ้าเป็นการใช้งานที่ไม่ได้รับน้ำหนักมากนัก ฐานรากแบบแผ่ … Read More

ค่าระยะเยื้องศูนย์มากที่สุด ที่จะไม่ทำให้ที่บริเวณขอบนอกสุดใต้ฐานรากแบบตื้น เกิดหน่วยแรงเค้นดึง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะมาขออนุญาตมาตอบคำถามให้แก่น้องวิศวกรที่เพิ่งจบใหม่ท่านหนึ่ง ซึ่งจริงๆ แล้วน้องท่านนี้ก็อายุน้อยกว่าผมเพียงไม่กี่ปีแต่ผมยอมรับในตัวแกเลยเพราะแกใช้ความมานะอุตสาหะตั้งใจเรียนจนจบในสาขาวิศวกรรมศาสตร์ระดับปริญญาตรีตอนอายุ 30 กว่าๆ ได้ ผมขอแสดงความยินดีกับแกด้วยก็แล้วกันและขออำนวยพรให้แกมีความเจริญก้าวหน้าในหน้าที่การงานสืบไปนะครับ ทีนี้สิ่งที่แกนำเอาปรึกษากับผมนั้นต้องย้อนกลับไปตอนที่แกกำลังเตรียมตัวสอบใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมอยู่ ซึ่งแกเคยไปอ่านเจอคำถามข้อหนึ่งเกี่ยวกับเรื่องการออกแบบฐานรากแบบตื้นหรือ SHALLOW … Read More