การรับแรงกระทำตามแนวแกนร่วมกันกับแรงดัดในโครงสร้างเสาเข็ม
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ผมยังวนเวียนอยู่กับการตอบคำถามให้แก่แฟนเพจท่านหนึ่งที่ได้ทำการสอบถามเข้ามาเกี่ยวกับเรื่อง เสาเข็มที่ต้องทำหน้าที่ในการรับแรงดัดหรือ BENDING FORCE ร่วมกันกับแรงกระทำตามแนวแกนหรือ AXIAL FORCE ไปพร้อมๆ กัน ซึ่งประเด็นล่าสุดที่แฟนเพจท่านนี้ได้ทำการสอบถามเข้ามานั้นก็คือ … Read More
การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์
การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์ (STRUCTURAL DYNAMICS ENGINEERING หรือ SDE) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์ (STRUCTURAL DYNAMICS ENGINEERING หรือ SDE) นะครับ เนื่องจากในช่วงเวลาที่ผ่านมานั้นมีน้องๆ วิศวกรหลายๆ คนเข้ามาปรึกษาและอยากให้ผมให้ ตย ในการคำนวณเกี่ยวกับการออกแบบโครงสร้างเพื่อรับแรงชนิดพลศาสตร์ (DYNAMICS … Read More
“ENGINEERING”
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้เป็นหัวข้อใหม่นะครับ เพราะ CEO หนุ่มแห่งภูมิสยามนั้นมีวิสัยทัศน์ว่า ขณะนี้ประเทศไทยได้เข้าสู่ยุค AEC แล้ว คุณโอ จึงมีความต้องการที่จะเพิ่มเติมความรู้ทางด้านภาษาอังกฤษให้แก่นักเรียนและนักศึกษาที่กำลังศึกษาอยู่ใน โรงเรียน วิทยาลัย และ มหาวิทยาลัย ต่างๆ อยู่ในขณะนี้ จึงเป็นที่มาที่ไปของหัวข้อใหม่ของเราในวันนี้ นั่นก็คือหัวข้อ ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH … Read More
ระหว่าง FORCE METHOD กับ DISPLACEMENT METHOD แล้ววิธีการใดจะน่าสนใจและหากเรียนรู้แล้วจะได้ประโยชน์มากกว่ากัน
ระหว่าง FORCE METHOD กับ DISPLACEMENT METHOD แล้ววิธีการใดจะน่าสนใจและหากเรียนรู้แล้วจะได้ประโยชน์มากกว่ากัน เราสามารถที่จะทำการเปรียบเทียบวิธีการวิเคราะห์โครงสร้างระหว่าง FORCE METHOD และ DISPLACEMENT METHOD ได้จาก (1) ตัวแปรตั้งต้นที่เราไม่ทราบค่า (2) สมการที่ใช้ในการหาค่าตัวแปรตั้งต้นนั้นๆ หากเราพูดถึง FORCE … Read More