บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เสาเข็ม SPUN MICRO PILE มาตรฐาน มอก. โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม) เหมาะสำหรับต่อเติมบ้าน เพราะไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย

เสาเข็ม SPUN MICRO PILE มาตรฐาน มอก. โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม) เหมาะสำหรับต่อเติมบ้าน เพราะไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย เสาเข็มเราเป็นที่นิยมในการต่อเติม เพราะคุณภาพมาตรฐานการผลิต สามารถทำงานในที่แคบได้ ลำเลียงเข้าซอยแคบได้ และตัวเสาเข็ม มีรูกลมกลวงตรงกลางเพื่อการ ระบายดินสามารถลดแรงสั่นสะเทือนได้ และ หน้างานสะอาด … Read More

บ้านทรุดตัว บ้านแตกร้าว แก้ปัญอย่างไร

บ้านทรุดตัว บ้านแตกร้าว แก้ปัญหาอย่างไร ปัญหาบ้านทรุดตัวเกิดจากอะไร? ปัญหานี้เกิดได้หลายสาเหตุ โดยปัจจัยหลัก ๆ มักมาจากเสาเข็มและการเคลื่อนตัวของพื้นดิน ขอเรียนว่าเรื่องนี้ไม่ใช่เรื่องใหม่แต่อย่างใด เพราะพบเห็นกรณีนี้มาอย่างต่อเนื่องยิ่งในช่วงฤดูฝน บ้านเรือนส่วนใหญ่ที่สร้างขึ้นมาโดยลงเสาเข็มไม่ลึก ก็จะเกิดปัญหาบ้านทรุดตัวลง เพราะการตอกเสาเข็มลงไปไม่ถึงชั้นดินที่แข็งแรงพอ ส่วนใหญ่มักเกิดจากกรณีที่ไม่เจาะสำรวดพื้นดิน หรือเกิดจากการการควบคุมการก่อสร้างเสาเข็มที่ไม่ได้มาตรฐาน เมื่อปลายของเสาเข็มไม่ถึงชั้นดินที่แข็งแรง หลังจากการก่อสร้างบ้านเสร็จ หากเสาเข็มรับน้ำหนักไม่ได้ทำให้บ้านเกิดการทรุดตัวลงอย่างรวดเร็วภายในระยะเวลาสั้น ๆ หลังก่อสร้างเสร็จ … Read More

ต่อเติมหน้าบ้าน ต่อเติมหลังบ้าน แนะนำ ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE มาตรฐาน มอก.

ต่อเติมหน้าบ้าน ต่อเติมหลังบ้าน แนะนำ ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE มาตรฐาน มอก. ด้วยเหตุผล เข้าพื้นที่แคบได้ และ เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัย 20-40 ตัน มีหลายขนาด 21, 23, 25, 30 ซม. … Read More

หลักการออกแบบโครงสร้างรับแรงแผ่นดินไหว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้แอดมินมีโอกาสได้พูดคุยกับเพื่อนชาวต่างชาติเกี่ยวกับเรื่องของแนวคิดในการออกแบบโครงสร้างเหล็กเพื่อใช้ต้านทานแรงกระทำจากแผ่นดินไหวในปัจจุบันและในอนาคตว่าจะเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไรบ้าง ? ผมเลยคิดว่าหากจะนำมาแชร์ให้เพื่อนๆ ได้รับทราบด้วย ก็น่าจะเป็นการดีครับ หลักการออกแบบโครงสร้างรับแรงแผ่นดินไหวในปัจจุบันใช้สมมติฐานว่าโครงสร้างมีพฤติกรรมอยู่ในช่วงเชิงเส้น กระบวนการออกแบบเริ่มต้นโดยการหาแรงเฉือนที่ฐานของอาคาร ซึ่งหาได้จากค่าสัมประสิทธิ์ผลตอบสนองแรงแผ่นดินไหว (Cs) และค่าความเร่งตอบสนองเชิงสเปคตรัมสำหรับการออกแบบที่คาบการสั่นพื้นฐานของอาคาร (Sa) โดยมีสมมติฐานที่ว่าโครงสร้างมีพฤติกรรมเป็นเชิงเส้น จากนั้นจึงลดทอนค่าแรงเฉือนด้วยค่าตัวประกอบปรับผลตอบสนอง (R) ที่แปรผันตามค่าความเหนียวของระบบโครงสร้างที่ได้สมมุติไว้ ค่าแรงเฉือนที่ฐานสำหรับการออกแบบนี้จะเพิ่มขึ้นหรือลดลงตามระดับความสำคัญในการใช้งานของโครงสร้างอาคาร โดยใช้ตัวประกอบความสำคัญของอาคาร (I) … Read More

1 150 151 152 153 154 155 156 175