บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

การเสริมกำลัง โครงสร้างคานเชิงประกอบเหล็ก หรือ COMPOSITE STEEL BEAM

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ   เวลาที่เพื่อนๆ เดินทางไปในย่านชุมชนเก่าแก่ในเขตกรุงเทพมหานครหรือในพื้นที่ใดๆ ก็แล้วแต่ ซึ่งส่วนใหญ่บ้านเรือนหรืออาคารนั้นจะมีอายุการใช้งานที่เรียกได้ว่าเก่าแก่มากแล้วแต่เมื่อเพื่อนๆ เข้าไปข้างในตัวอาคารนั้นๆ กลับพบว่าภายในยังดูดี ดูแล้วยังมีความมั่นคงและแข็งแรงมากๆ … Read More

เฉลยข้อสอบ กพ ที่เป็นในส่วนการสอบในภาค ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์วิศวกรรม (ENGINEERING MECHANICS COMPUTATION หรือ EMC) นะครับ วันนี้ผมจะมาเฉลยข้อสอบ กพ ที่เป็นในส่วนการสอบในภาค ก ที่เป็นประเด็นพูดถึงกันมากอยู่ในเฟซบุ้คในขณะนี้นะครับ จริงๆ แล้วปัญหาข้อนี้ไมได้มีความสลับซับซ้อนอะไรมากนักนะครับ ไม่ต้องท่องจำ สูตร หรือ สมการ … Read More

เทคนิคในการจี้คอนกรีตที่ถูกต้อง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมมีเทคนิคง่ายๆ ที่จริงๆ แล้วเป็นพื้นฐานของการทำงานเทคอนกรีตเลยก็ว่าได้นะครับ แต่ หลายๆ คนอาจจะหลงลืมไป หรือ ลืมนึกถึงความสำคัญไปจึงทำให้เกิดปัญหาตามมามากมายเลย ซึ่งเรื่องนี้ก็คือ เทคนิคในการจี้คอนกรีต ที่ถูกต้องนั่นเองนะครับ … Read More

การเตรียมตัวสอบเพื่อใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันจันทร์แบบนี้ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ สืบเนื่องจากเมื่อวันเสาร์และอาทิตย์ที่ผ่านมานั้นผมได้ทำการตั้งคำถามประจำสัปดาห์ โดยที่ปัญหานั้นเกี่ยวข้องกันกับการวิเคราะห์โครงสร้างโครงข้อแข็งที่ไม่สามารถจะทำการวิเคราะห์ได้ด้วยวิธีการอย่างง่ายหรือ INDETERMINATE RIGID FRAME นั่นเอง มีรุ่นน้องท่านหนึ่งที่ติดตามการโพสต์ของผมได้อินบ็อกซ์เข้ามาในเฟซบุ้คส่วนตัวของผมพร้อมกับแจ้งมาว่า   “ผมติดตามบทความของพี่มาโดยตลอด ต้องขอบคุณพี่ด้วยนะครับ ยังไงรบกวนพี่ช่วยตอบคำถามของผมด้วยเพราะผมได้ทำการวิเคราะห์โครงสร้างตามปัญหาที่พี่ได้ตั้งขึ้นโดยใช้ซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเมนต์ XXX ผลปรากฏว่าได้คำตอบคลาดเคลื่อนออกไปจากของพี่ … Read More

1 147 148 149 150 151 152 153 175