บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

คอนกรีตงานเข็มเจาะเล็ก

คุณสมบัติ คอนกรีตประเภทนี้ ถูกออกแบบส่วนผสมตามค่ากำลังอัดที่อายุ 28 วัน และค่าการยุบตัวสำหรับงานเทเข็มเจาะขนาดเล็ก โดยมีการผสมคอนกรีตด้วยสารลดน้ำและหน่วงการก่อตัว ตามมาตรฐาน ASTM C 494 ทำให้คอนกรีตมีความสามารถในการทำงานเพิ่มขึ้น ไม่เกิดการแยกตัวขณะเทคอนกรีต รวมถึงเพิ่มอายุการทำงานของคอนกรีตมากกว่า 3 ชั่วโมง เพื่อให้เหมาะสมกับงานเข็มเจาะขนาดเล็กเนื่องจากคอนกรีตประเภทนี้ มีระยะเวลาการแข็งตัวที่ช้ากว่าคอนกรีตปกติ ทำให้การพัฒนากำลังอัดในช่วงต้นของคอนกรีตประเภทนี้ต่ำกว่าคอนกรีตโดยทั่วไป ขั้นตอนการทำงาน … Read More

การเสริมกำลังในโครงสร้างของคาน คสล เดิม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน สืบเนื่องจากเมื่อวันก่อนที่ผมได้ไปฟังการบรรยายเกี่ยวกับเรื่อง การออกแบบโครงสร้างพิเศษ โดยท่าน อ ดร สมพร อรรถเศรณีวงศ์ และทีมงาน MICROFEAP ผมพบว่าเนื้อหาในการบรรยายของท่าน อ มีประโยชน์มากๆ ครับ บางเรื่องก็เป็นการตอกย้ำความรู้พื้นฐานที่ผมมีอยู่แล้วว่าสำคัญเพียงใด บางเรื่องก็เป็นการต่อยอดและพัฒนาทักษะและความรู้เดิมที่ผมนั้นมีให้ก้าวไกลไปได้อีกมากโข สำคัญที่สุด คือ ความคิดและคำสอนส่วนตัวของท่าน … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมพลศาสตร์โครงสร้าง

การออกแบบงานวิศวกรรมพลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL DYNAMICS DESIGN ENGINEERING หรือ SDE) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมพลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL DYNAMICS DESIGN ENGINEERING หรือ SDE) นะครับ วันนี้ผมมีรูป ตัวอย่าง ที่เกิดขึ้นจริงสำหรับกรณีที่โครงสร้างอาคารนั้นเกิดการวิบัติอันเนื่องมาจากไม่สามารถต้านทานต่อ นน … Read More

วิธีในออกแบบและก่อสร้าง ชิ้นส่วนที่คอยทำหน้าที่ค้ำยันทางด้านข้าง แก่โครงสร้างโครงถักเหล็กตัวหลักที่ถูกต้อง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เนื่องจากเมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้นำเอารูปภาพจริงๆ ของการที่ชิ้นส่วนซึ่งคอยทำหน้าที่ในการค้ำยันทางด้านข้างหรือ LATERAL BRACING ให้แก่โครงสร้างโครงถักเหล็กตัวหลักหรือ MAIN-TRUSS นั้นเกิดการวิบัติมาฝากเพื่อนๆ ทุกๆ คนซึ่งผมก็ได้ทำการอธิบายไปในเบื้องต้นแล้วว่า สาเหตุที่เจ้าชิ้นส่วนซึ่งคอยทำหน้าที่ในการค้ำยันทางด้านข้างให้แก่โครงสร้างโครงถักเหล็กตัวหลักนี้เกิดการวิบัติเป็นเพราะตอนที่ช่างที่ทำหน้าที่ในการติดตั้งโครงสร้างโครงหลังคาเหล็กนั้นทำการก่อสร้างโดยขาดความรู้และประสบการณ์ในการก่อสร้างโครงสร้างเหล็กที่มีความถูกต้องตามหลักการทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างนั่นเองเพราะตามปกติแล้ววิศวกรผู้มีความรู้และประสบการณ์ในการออกแบบ มักจะทำการออกแบบโดยกำหนดให้ชิ้นส่วนซึ่งจะคอยทำหน้าที่ในการค้ำยันทางด้านข้างให้แก่โครงสร้างโครงถักเหล็กตัวหลักนั้นเป็นโครงสร้างโครงถักเหล็กตัวรองหรือ SUB-TRUSS … Read More

1 141 142 143 144 145 146 147 175