SPUNMICROPILE MICROPILE เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เสาเข็มต่อเติม มาตรฐาน มอก. โดย BSP ภูมิสยาม
SPUNMICROPILE MICROPILE เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เสาเข็มต่อเติม มาตรฐาน มอก. โดย BSP ภูมิสยาม ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. และ การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 20-40 ตัน/ต้น … Read More
ตารางแสดงค่าความลึกของหลุมเจาะที่ควรใช้ในการทดสอบดินที่มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับขนาดและความสูงของอาคาร
ตารางแสดงค่าความลึกของหลุมเจาะที่ควรใช้ในการทดสอบดินที่มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับขนาดและความสูงของอาคาร หากขึ้นชื่อว่าเป็นวิศวกรที่ดี เรามักที่จะต้องเป็นนักปฎิบัติงานที่ต้องทำงานภายใต้มาตรฐานการทำงานที่ดีและมีความเชื่อถือได้ ทั้งนี้เพราะเมื่อต้องนำหลักการหนึ่งหลักการใดจากมาตรฐานเหล่านี้ไปปฎิบัติใช้ในการทำงานจริงๆ ได้เราก็ต้องสามารถที่จะอ้างอิงไปยังมาตรฐานนั้นๆ ได้ด้วยนะครับ ซึ่งผมถือว่าส่วนหนึ่งของคำถามข้อนี้นั้นเป็นความบกพร่องของผมเองนะครับที่ไม่ได้ทำการกล่าวอ้างอิงถึงแหล่งที่มาของข้อมูลๆ นี้นะครับ ยังไงผมจะขออนุญาตเก็บประเด็นนี้เอาไว้เพื่อที่จะดำเนินการแก้ไขในการโพสต์ครั้งต่อๆ ไปนะครับ เอาเป็นว่าผมขออนุญาตตอบคำถามข้อนี้เลยก็แล้วกันนะครับ ข้อมูลที่ผมได้ให้คำแนะนำไปกับเพื่อนๆ ไปนั้นมีการอ้างอิงมาจากเอกสารหนังสือ แนวทางการตรวจสอบชั้นดินเพื่องานฐานราก ในหน้าที่ 13 ถึง 14 ซึ่งได้จัดทำโดยวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย โดยเป็นเอกสารที่ถูกพิมพ์ไปเมื่อปี … Read More
ตอกเสาเข็มในพื้นที่แออัด ด้วยเสาเข็มสปันไมรโคไพล์ bhumisiam ทำได้หรือไม่ Spun Micro Pile ดีเช่นไร?
ตอกเสาเข็มในพื้นที่แออัด ด้วยเสาเข็มสปันไมรโคไพล์ bhumisiam ทำได้หรือไม่ Spun Micro Pile ดีเช่นไร? ในงานเสริมฐานรากอาคาร หรือ ต่อเติมบ้าน ต่อเติมหน้าเติมหน้าข้างบ้าน ต่อเติมหน้าบ้าน หลังบ้าน ต่อเติมอาคาร ก็กำลังมาแรง วันนี้ Mr.MicroPile มีภาพการเตรียม ต่อเติม มาฝากเพิ่มเติมครับ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ … Read More
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของเสาเข็มมีผลต่อการคำนวณหาระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุด
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ประเด็นที่ผมจะขออนุญาตหยิบยกนำเอามาพูดในวันนี้ก็คือสำหรับในกรณีของฐานรากที่มีการถ่ายน้ำหนักลงไปสู่ดินโดยการใช้โครงสร้างเสาเข็มนั้นถึงแม้ว่าเมื่อในสัปดาห์ก่อนที่ผมได้ให้คำอธิบายและทำการสรุปกับเพื่อนๆ ว่า ในเรื่องของระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุดนั้นจะไม่ได้ขึ้นอยู่กับขนาดของตัวโครงสร้างเสาเข็มเหมือนกับกรณีที่เรากำลังพิจารณาในเรื่องระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มน้อยที่สุดแต่จะไปขึ้นอยู่กับอัตราส่วนระหว่างระยะความห่างต่อระยะความหนาแทน แต่ ก็ใช่ว่าขนาดของตัวโครงสร้างเสาเข็มนั้นจะถูกตัดออกไปโดยไม่ถูกนำเอามาพิจารณาใช้ในการคำนวณหาค่าของระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุดเสียทีเดียว เพราะเหตุใดผมจึงกล่าวเช่นนั้นครับ ? หากเพื่อนๆ จำได้ … Read More