บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เสาเข็มสปันไมโครไพล์(Spun Micropile) เสาเข็มต่อเติม สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย

เสาเข็มสปันไมโครไพล์(Spun Micropile) เสาเข็มต่อเติม สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย ต่อเติมในที่แคบ พื้นที่น้อย ต่อเติมฐานรากอาคารขนาดใหญ่ แนะนำ เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. สามารถตอกชิดกำแพงได้ ไม่ก่อให้เกิดความเสียหายกับโครงสร้างเดิม สามารถทำงานได้อย่างรวดเร็ว และสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ถึง 20-40 ตันต่อต้น โดยมีขนาดเสาเข็มให้เลือกหลายขนาด … Read More

ระหว่าง FORCE METHOD กับ DISPLACEMENT METHOD แล้ววิธีการใดจะน่าสนใจและหากเรียนรู้แล้วจะได้ประโยชน์มากกว่ากัน

ระหว่าง FORCE METHOD กับ DISPLACEMENT METHOD แล้ววิธีการใดจะน่าสนใจและหากเรียนรู้แล้วจะได้ประโยชน์มากกว่ากัน เราสามารถที่จะทำการเปรียบเทียบวิธีการวิเคราะห์โครงสร้างระหว่าง FORCE METHOD และ DISPLACEMENT METHOD ได้จาก (1) ตัวแปรตั้งต้นที่เราไม่ทราบค่า (2) สมการที่ใช้ในการหาค่าตัวแปรตั้งต้นนั้นๆ หากเราพูดถึง FORCE … Read More

การออกแบบเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ (รูปที่ 1) วันนี้ผมจะขอมาเอาใจวิศวกรภูธรกันบ้างนะครับ แหะๆ ผมล้อเล่นนะครับ ที่ผมพูดแบบนี้เพราะในหลายวันที่ผ่านมาผมได้พูดถึงค่า PARAMETER ที่สำคัญของดินไปหลายค่ามากๆ ซึ่งเมื่อเราได้ทำการทดสอบและคำนวณค่าเหล่านี้มาได้ เรามักต้องนำข้อมูลเหล่านี้ไปทำการออกแบบเสาเข็ม ซึ่งฐานรากที่ต้องเป็นระบบเสาเข็ม (ดูรูปที่ 1 ขวามือ) เราจะเรียกว่า ระบบฐานรากลึก (DEEP FOUNDATION) … Read More

ตารางแสดงค่าความลึกของหลุมเจาะที่ควรใช้ในการทดสอบดินที่มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับขนาดและความสูงของอาคาร

ตารางแสดงค่าความลึกของหลุมเจาะที่ควรใช้ในการทดสอบดินที่มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับขนาดและความสูงของอาคาร หากขึ้นชื่อว่าเป็นวิศวกรที่ดี เรามักที่จะต้องเป็นนักปฎิบัติงานที่ต้องทำงานภายใต้มาตรฐานการทำงานที่ดีและมีความเชื่อถือได้ ทั้งนี้เพราะเมื่อต้องนำหลักการหนึ่งหลักการใดจากมาตรฐานเหล่านี้ไปปฎิบัติใช้ในการทำงานจริงๆ ได้เราก็ต้องสามารถที่จะอ้างอิงไปยังมาตรฐานนั้นๆ ได้ด้วยนะครับ ซึ่งผมถือว่าส่วนหนึ่งของคำถามข้อนี้นั้นเป็นความบกพร่องของผมเองนะครับที่ไม่ได้ทำการกล่าวอ้างอิงถึงแหล่งที่มาของข้อมูลๆ นี้นะครับ ยังไงผมจะขออนุญาตเก็บประเด็นนี้เอาไว้เพื่อที่จะดำเนินการแก้ไขในการโพสต์ครั้งต่อๆ ไปนะครับ เอาเป็นว่าผมขออนุญาตตอบคำถามข้อนี้เลยก็แล้วกันนะครับ ข้อมูลที่ผมได้ให้คำแนะนำไปกับเพื่อนๆ ไปนั้นมีการอ้างอิงมาจากเอกสารหนังสือ แนวทางการตรวจสอบชั้นดินเพื่องานฐานราก ในหน้าที่ 13 ถึง 14 ซึ่งได้จัดทำโดยวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย โดยเป็นเอกสารที่ถูกพิมพ์ไปเมื่อปี … Read More

1 11 12 13 14 15 16 17 175