บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เทคนิคง่ายๆ ที่สามารถนำไปใช้ในการทำงานควบคุมงานก่อสร้างได้

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เมื่อประมาณ 2 ถึง 3 สัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้มีโอกาสพบปะและพูดคุยกับเพื่อนวิศวกรท่านหนึ่ง ซึ่งเพื่อนท่านนี้ของผมนั้นเป็นวิศวกรผู้ทำหน้าที่ในการควบคุมงานก่อสร้างเป็นหลักเลยและเราก็ได้สนทนากันในหลายๆ ประเด็น หนึ่งในประเด็นที่มีความน่าสนใจก็คือ เรื่องเทคนิคง่ายๆ ที่เพื่อนของผมท่านนี้นำมาใช้ในการทำงานควบคุมงานก่อสร้างซึ่งเค้าก็ได้สรุปออกมาสั้นๆ ออกมาเป็นทั้งหมด 5 … Read More

ภูมิสยามฯร่วมสบทบทุนด้วยการตอกเสาเข็มเป็นปัจจัยในการก่อสร้างโรงพยาบาลพระราชสิทธิวราจารย์

 ภูมิสยามฯร่วมสบทบทุนด้วยการตอกเสาเข็มเป็นปัจจัยในการก่อสร้างโรงพยาบาลพระราชสิทธิวราจารย์สร้างพื้นฐานคุณภาพชีวิต ตอบแทนสังคมที่ทำมาอย่างต่อเนื่อง   นายรัฐโรจน์ ภูริหิรัญพิพัฒ กรรมการผู้จัดการบริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้ผลิตและจัดจำหน่ายเสาเข็มสปันไมโครไพล์ เทคโลยีการผลิตจากประเทศเยอรมัน ร่วมสบทบทุนด้วยการตอกเสาเข็ม เป็นปัจจัยในการก่อสร้างโรงพยาบาลพระราชสิทธิวราจารย์ มูลค่ารวมกว่า 660,000 บาท เพื่อมีส่วนในการร่วมสร้างพื้นฐานคุณภาพชีวิต และถือเป็นกิจกรรมตอบแทนสังคมที่ทำมาอย่างต่อเนื่อง ณ วัดประสิทธิเวช … Read More

“ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” การคำนวณระยะของการฝังเหล็กเสริมในคอนกรีตเพื่อที่จะใช้ในการรับแรงดึง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เมื่อไม่นานมานี้มีเพื่อนนายช่างท่านหนึ่ง ซึ่งเพื่อนท่านนี้มีหน้าที่หลักคือ การควบคุมการทำงานก่อสร้างที่หน้างาน เค้าได้อินบ็อกซ์เข้ามาสอบถามกับผมในประเด็นๆ หนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องกับเรื่อง ระยะยึดเหนี่ยวของเหล็กเสริมเมื่อต้องฝังตัวอยู่ในโครงสร้างคอนกรีต โดยที่ใจความของประเด็นสนทนานั้นอยู่ที่ เพื่อนของผมท่านนี้กำลังจะทำการใช้งานเหล็กข้ออ้อยชั้นคุณภาพ SD40 ซึ่งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของเหล็กเสริมเท่ากับ 20 มม … Read More

การรับแรงกระทำตามแนวแกนร่วมกันกับแรงดัดในโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ หลังจากที่ในสัปดาห์ที่แล้วผมพูดจบไปแล้วถึง วิธีในการคำนวณหาค่าNORMAL FORCE STIFFNESS หรือ AXIAL STIFFNESS หรือ ซึ่งเราอาจจะแทนค่าๆ นี้ด้วยค่า … Read More

1 135 136 137 138 139 140 141 175