บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสริมฐานรากอาคารขนาดใหญ่ หรือสร้างอาคารใหม่

เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสริมฐานรากอาคารขนาดใหญ่ หรือสร้างอาคารใหม่ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ SPUN MICRO PILE มาตรฐาน มอก BSP ภูมิสยาม เสาเข็มเราเป็นที่นิยมต่อเติม เสริมฐานรากอาคารขนาดใหญ่ เพราะคุณภาพมาตรฐานการผลิต สามารถทำงานในที่แคบได้ ลำเลียงเข้าซอยแคบได้ และตัวเสาเข็ม มีรูกลมกลวงตรงกลางเพื่อการ ระบายดินสามารถลดแรงสั่นสะเทือนได้ และ … Read More

“ตอกเสาเข็มชิดกำแพงได้” ใช้เสาเข็มอะไรดีครับ ?

“ตอกเสาเข็มชิดกำแพงได้” ใช้เสาเข็มอะไรดีครับ ? เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสริมฐานรากภายในอาคาร ตอกชิดกำแพงได้ 50 ซม. แนะนำใช้ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ SPUN MICRO PILE มาตรฐาน มอก. BSP-Bhumisiam ภูมิสยาม ครับ ข้อมูลเพิ่มเติม http://www.micro-pile.com/ … Read More

การจัดเสาเข็มและระยะห่างของเสาเข็ม (เสาเข็มไมโครไพล์) สปันไมโครไพล์

การจัดเสาเข็มและระยะห่างของเสาเข็ม 1. เสาเข็มใต้ฐานรากจะต้องจัดเรียงสมํ่าเสมอเหมือนกันทุกด้าน 2. สําหรับเสาเข็ม End Bearing Piles ระยะห่างระหว่างศูนย์กลางของเสาเข็มจะต้องห่างกัน อย่างน้อย 2 เท่า ของขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางสําหรับเสาเข็มกลม หรือ 2 เท่าของเส้นทแยงมุมสําหรับเสาเข็มสี่เหลี่ยมหรือเสาเข็มเหล็กแต่ต้องไม่น้อยกว่า 2.5 ฟุต หรือ 75 … Read More

การออกแบบวิศวกรรมโครงสร้างต้านทานแรงกระทำจากแผ่นดินไหว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการอธิบายถึงเรื่องการคำนวณหา STIFFNESS MATRIX ของโครงสร้างต่อเนื่องจากในสัปดาห์ที่แล้ว ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นพื้นฐานให้แก่เพื่อนๆ เวลาที่ผมพาทำการแก้ปัญหาในการวิเคราะห์โครงสร้างของอาคารเมื่ออยู่อาคารนั้นๆ ตกอยู่ภายใต้แรงกระทำแบบพลศาสตร์นะครับ   โดยในครั้งที่แล้วผมได้อธิบายจบไปแล้วถึงเรื่องที่มาที่ไปของ STIFFNESS MATRIX ของ BEAM ELEMENT … Read More

1 134 135 136 137 138 139 140 175