ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ Bhumisiam ไมโครไพล์

ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ 

วันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอาภาพสเก็ตช์ของปัญหาๆ หนึ่งที่แฟนเพจท่านหนึ่งได้อินบ็อกซ์เข้ามาปรึกษากับผม ผมจึงคิดว่าน่าที่จะมีประโยชน์เลยนำประเด็นๆ นี้มาฝากเพื่อนๆ ทุกๆ คนให้ได้รับทราบร่วมกัน นั่นก็คือเรื่อง เสาเข็มเกิดการทรุดตัวที่ไม่เท่ากัน นั่นเองนะครับ
เพื่อนๆ คงจะมีความคุ้ยเคยและคงเคยได้ยินประโยคในทำนองที่ว่า 
“การเลือกใช้ฐานรากเป็น แบบเสาเข็ม จะเป็นการดีกว่าการเลือกใช้ฐานรากแบบ วางบนดิน” มาบ้างใช่หรือไม่ครับ ?

ผมจะขอแก้ไขประโยคข้างต้นนี้สักเล็กน้อยนะครับ นั่นก็คือ 

“การเลือกใช้ฐานรากเป็น แบบเสาเข็ม ที่แข็งแรง สมบูรณ์ ได้รับการออกแบบโดยวิศวกรผู้ออกแบบที่มีความรู้เชิงวิศวกรรม จะเป็นการดีกว่าการเลือกใช้ฐานรากแบบ วางบนดิน” 

ก็แล้วกัน โดยที่เรามาดูคำอธิบายกันสักเล็กน้อยก็แล้วกันนะครับว่าเหตุใดผมจึงกล่าวเช่นนั้น

จะเห็นได้จากรูปบน หรือ CASE A ซึ่งก็คือกรณีของเสาเข็มปกติทั่วๆ ไปที่มีความแข็งแรง สมบูรณ์ ได้รับการออกแบบโดยวิศวกรผู้ออกแบบที่มีความรู้เชิงวิศวกรรม นั่นก็คือ เสาเข็มจะไม่เกิดการทรุดตัว หรือ หากเกิดก็จะเกิดน้อยมากๆ ที่สำคัญคือ เสาเข็มจะไม่เกิดการทรุดตัวที่ไม่เท่ากันขึ้น หรือ ที่เรานิยมเรียกกันว่า DIFFERENTIAL SETTLEMENT เพราะฉะนั้นทั้งโครงสร้างและองค์ประกอบทางด้านงานสถาปัตยกรรม เช่น ผนังก่ออิฐ กระจกของบานประตูและหน้าต่าง เป็นต้น ก็จะไม่เกิดการแตกหรือการร้าวขึ้นอันเนื่องมาจากการที่ฐานรากนั้นแข็งแรงเพียงพอ จึงทำให้ไม่เกิดการทรุดตัวที่ไม่เท่ากันของโครงสร้างฐานรากนะครับ

ในทางตรงกันข้ามจากรูปล่าง หรือ CASE B ซึ่งก็คือกรณีของเสาเข็มที่ไม่ปกติ ที่ไม่มีความแข็งแรง ไม่สมบูรณ์ หรือ อาจจะเป็นเพราะไม่ได้รับการออกแบบโดยวิศวกรผู้ออกแบบที่มีความรู้เชิงวิศวกรรม นั่นก็คือ เสาเข็มจะเกิดการทรุดตัวที่แตกต่างกันขึ้น เพราะฉะนั้นทั้งโครงสร้างและองค์ประกอบทางด้านงานสถาปัตยกรรม เช่น ผนังก่ออิฐ กระจกของบานประตูและหน้าต่าง เป็นต้น ก็จะเกิดการแตกหรือการร้าวขึ้นอันเนื่องมาจากการที่ฐานรากนั้นไม่แข็งแรงเพียงพอ จึงทำให้เกิดการทรุดตัวที่ไม่เท่ากันของโครงสร้างฐานรากนะครับ

ปล ในรูปนี้ผมไม่ได้วาดรูปผิดนะครับ รอยร้าวที่เกิดขึ้นจะเป็นที่ผิวด้านที่รับแรงอัด หรือ COMPRESSION FIBER เพราะ ที่ผิวๆ นี้มักจะมีเหล็กเสริมใส่อยู่ในปริมาณที่ค่อนข้างน้อย พอเกิดการเสียรูปดังในภาพประกอบกับปัญหาอีกอย่างหนึ่งของเพื่อนของผมท่านนี้ซึ่งก็คือ คุณภาพของคอนกรีตมีปัญหา จึงทำให้ค่า ALLOWABLE COMPRESSIVE STRESS มีค่าต่ำกว่าปกติค่อนข้างมาก และ ยังส่งผลทำให้ความคงทนของคอนกรีต หรือ DURABILITY ในโครงสร้างนั้นมีปัญหาตามมาอีกมากมาย ในที่สุดจึงก่อให้เกิดรอยร้าวตามที่แสดงในรูปสเก็ตช์นี้น่ะครับ

ดังนั้นเรื่อง โครงสร้างเสาเข็ม จึงไม่ใช่เรื่องล้อเล่นเลยนะครับ เพราะ โครงสร้างเสาเข็ม ที่ดีนอกจากจะได้รับการออกแบบโดยวิศวกรที่มีความรู้ในเชิงวิศวกรรมแล้ว ยังต้องได้รับการผลิตโดยใช้วัสดุทีได้รับการควบคุมคุณภาพเป็นอย่างดี ผลิตด้วยขั้นตอนและกรรมวิธีที่มีความแม่นยำ ถูกต้องตรงตามหลักการทางด้านวิศวกรรม เพราะต้องไม่ลืมว่า เสาเข็ม คือ ส่วนรากฐานของอาคาร หากรากฐานของอาคารของเรานั้นไม่มีความแข็งแรงเพียงพอ ก็ไม่ต้องไปคาดหวังเลยนะครับว่า อาคารของเราจะมีสมรรถนะในการใช้งานที่ดีและเป็นปกติน่ะครับ

#โพสต์ของวันอังคาร
#ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่าง
#ปัญหาการที่โครงสร้างเสาเข็มนั้นเกิดการทรุดตัวแตกต่างกันมากจนเกินไปจนทำให้เกิดปัญหาตามมาอย่างมากมาย

ADMIN JAMES DEAN
Bhumisiam ภูมิสยาม

1. แบบกลม Dia 21 cm.

รับน้ำหนัก 20-25 ตัน/ต้น

2. แบบสี่เหลี่ยม S18x18 cm.
หรือ 22 cm. แนวทแยง
รับน้ำหนัก 15-20 ตัน/ต้น

ภูมิสยามพร้อมบริการครับ ทีมงานเราพร้อมและเสาเข็มสปันไมโครไพล์แท้ ฐานรากในพื้นที่จำกัดหรือที่โล่ง ตอบโจทย์การก่อสร้างใหม่หรืองานต่อเติม วิศวกรมั่นใจนิยมใช้เสาเข็ม มาตรฐาน มอก. 397-2524 และ การตอกมีมาตรฐาน ISO 9001 โดย ภูมิสยามครับ

สปันไมโครไพล์แท้ มาตรฐาน มอก. ภูมิสยาม เสาเข็มที่รองรับงานต่อเติมเพื่อป้องกันการทรุด ตามที่วิศวกรออกแบบ จะนิยมใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. 397-2524 และ การตอกที่เป็นไปตาม มาตรฐาน ISO 9001 เสาเข็มภูมิสยามฯ ตอบโจทย์ครับ

สปันไมโครไพล์แท้ภูมิสยาม พร้อมบริการทุกการก่อสร้างเสาเข็มเรามีหลายขนาด เริ่มตั้งแต่เหมาะสำหรับโครงสร้างชั้นเดียว รับน้ำหนัก 15 ตัน/ต้น จนถึงการรับน้ำหนักมากถึง 50 ตัน/ต้น (การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่)

สปันไมโครไพล์แท้:

1. แบบสี่เหลี่ยม S18x18 cm.
หรือ 22 cm. แนวทแยง
รับน้ำหนัก 15-20 ตัน/ต้น

2. แบบกลม Dia 21 cm.
รับน้ำหนัก 20-25 ตัน/ต้น

3. แบบกลม Dia 25 cm.
รับน้ำหนัก 25-35 ตัน/ต้น

4. แบบกลม Dia 30 cm.
รับน้ำหนัก 30-50 ตัน/ต้น

ภาพตัวอย่างการตอกเสาเข็ม https://bit.ly/2xc1MFJ

ขอแนะนำเสาเข็มมาตรฐาน มอก. 397-2524 โดยภูมิสยาม ซึ่งได้ ISO 9001:2015 ทั้งกระบวนการตอกและการผลิต พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ ตาม ตย. วีดีโอ https://youtu.be/iJr3dLtYAuA หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

Bhumisiam ภูมิสยาม
ผู้ผลิตรายแรก Spun MicroPile
1) ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐาน ISO 9001:2015
2) ได้รับมาตรฐาน ISO 9001:2015 UKAS ภายใต้การดูแลของ อังกฤษ
3) ได้รับมาตรฐาน ISO 9001:2015 NAC ภายใต้การดูแลของ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
4) ได้รับมาตรฐาน มอก. 397-2524 เสาเข็ม Spun MicroPile Dia 21, 25, 30 cm.
5) ผู้ผลิต Spun MicroPile ที่ได้รับ Endorsed Brand รับรองคุณภาพมาตรฐานจาก SCG
6) ผู้นำระบบ Computer ที่ทันสมัยผลิต เสาเข็ม Spun MicroPile
7) ลิขสิทธิ์เสาเข็ม Spun MicroPile
8) เทคโนโลยีการผลิต จากประเทศเยอรมัน
9) ผู้ผลิต Spun MicroPile แบบ “สี่เหลี่ยม”
10) การผลิตคอนกรีตและส่วนผสม ใช้ Program SCG-CPAC

เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ช่วยแก้ปัญหาได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย

สนใจติดต่อสินค้า เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โทร
☎ 082-790-1447
☎ 082-790-1448
☎ 082-790-1449
☎ 081-634-6586

? www.micro-pile.com
? www.bhumisiam.com

#ไมโครไพล์ #สปันไมโครไพล์
#เสาเข็มไมโครไพล์
#เสาเข็มสปันไมโครไพล์
#เสาเข็ม
#ตอกเสาเข็ม
#micropile
#spunmicropile
#microspunpile
#spunpile
#microspun